Page 2 - ประวัติพระตำหนักดอยตุง
P. 2

ประวัติ



                     พระต ำหนักดอยตุงเริ่มด ำเนินกำรก่อสร้ำงเมื่อวันที่ 26 ธันวำคม พ.ศ. 2530 เมื่อสมเด็จพระศรีนคริน

               ทรำบรมรำชชนนี มี พระชนมำยุ 88 พรรษำ โดยก่อนหน้ำนั้นมีพระรำชกระแสว่ำ หลังพระชนมำยุ 90
               พรรษำ จะไม่เสด็จไปประทับที่ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ส ำนักงำนรำชเลขำนุกำรในพระองค์ จึงได้เลือกดอยตุง

               ซึ่งมีทิวทัศน์สวยงำม ขณะเดียว กันสมเด็จพระศรีนครินทรำ บรมรำชชนนี เมื่อทรงทอดพระเนตรพื้นที่ เมื่อต้นปี

               พ.ศ. 2530 ก็ทรงพอพระรำชหฤทัย และมีพระรำชด ำริจะสร้ำงบ้ำนที่ดอยตุงพร้อมกันนี้ ยังมีพระรำชกระแส

               รับสั่งว่ำจะ ปลูกป่ำบนดอยสูงจึงก ำเนิดเป็น โครงกำรพัฒนำดอยตุงขึ้น โครงกำรพัฒนำดอยตุงเริ่มด ำเนินกำร
               โดยควำมร่วมมือจำกหน่วยรำชกำรทุกส่วน เช่น กรมป่ำไม้ กรมชลประทำน หน่วยงำนด้ำนปกครอง นอกจำกท ำ

               กำรปลูกป่ำฟื้นฟูสภำพพื้นที่แล้วยังมีกำรฝึกอำชีพ เพื่อ ยกระดับคุณภำพชีวิตของชำวเขำบนดอยตุง ซึ่ง

               ประกอบด้วยชำวเขำเผ่ำอำข่ำลำหู่ ไทยใหญ่ และจีนฮ่อ ขณะเดียว กันยังคงรักษำขนบธรรมเนียมประเพณีของตน
               ไว้


               สถำนที่ภำยในพระต ำหนัก



                    1.หอพระรำชประวัติ ซึ่งตั้งอยู่ด้ำนหน้ำสุดของพระต ำหนัก สร้ำงขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2546 เพื่อ

                     เทิดพระเกียรติสมเด็จย่ำ ภำยในแบ่งเป็นห้องต่ำงๆ แปดห้อง ดังนี้

                    ห้องแรก แผ่นดินไทยฟ้ำมืด กล่ำวถึงกำรเสด็จถวำยพระเพลิงพระบรมศพ เมื่อวันที่ 10 มี.ค.2539

                    ห้องที่ 2 ฉันจะเดินทำงด้วยเรือล ำนี้ แสดงถึงปรัชญำในกำรด ำเนินพระชนม์ชีพ ที่ประกอบด้วยหลัก
                     เหตุผล และกำรสร้ำงสรรค์ทำงศิลปะ

                    ห้องที่ 3 ภูมิธรรม ประมวลควำมสนพระทัยในหลักธรรมค ำสั่งสอน

                    ห้องที่ 4 หนึ่งศตวรรษ เป็นกำรเทิดพระเกียรติสมเด็จย่ำ และเฉลิมฉลองในวำระ 100 ปีแห่งกำรพระ

                     รำชสมภพ เมื่อปี พ.ศ. 2443 ทั้งนี้ ทรงพระปรีชำชำญ ในกำรอภิบำลพระธิดำ และพระโอรสที่ต่อมำ

                     ได้เถลิงถวัลย รำชสมบัติ เป็น พระมหำกษัตริย์ทั้งสองพระองค์ รวมทั้งทรงน ำควำมรู้ใหม่ๆ มำใช้ในงำน
                     บ ำบัดทุกข์บ ำรุงสุข ของพสกนิกร จนองค์กำรยูเนสโก ได้ประกำศพระนำมในปฏิทินบุคคลส ำคัญของ

                     โลก

                    ห้องที่ 5 เวลำเป็นของมีค่ำ กล่ำวถึงงำนฝีมือต่ำงๆ ของพระองค์ที่ใช้พระรำชทำนแก่บุคคลต่ำงๆ

                    ห้องที่ 6 พระมำรดำแห่งกำรแพทย์ชนบทและกำรสำธำรณสุขไทย

                    ห้องที่ 7 พระผู้อภิบำล บรรยำยถึงควำมเป็นพระผู้อภิบำลธรรมชำติ
   1   2   3   4   5