Page 3 - ประวัติพระตำหนักดอยตุง
P. 3
ห้องที่ 8 ดอยตุงกับกำรพัฒนำที่ยั่งยืน กล่ำวถึงโครงกำรพัฒนำดอยตุงที่เป็นโครงกำรพัฒนำระยะยำว
เน้นกำร อนุรักษ์ธรรมชำติและคุณภำพชีวิตของประชำชน
2.สวนแม่ฟ้ำหลวง
สวนแม่ฟ้ำหลวง
เป็นสวนดอกไม้เมืองหนำว ในหุบเขำ สร้ำงขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2535 เดิมมีพื้นที่ 12 ไร่ มีกำรปลูก
ดอกไม้หมุนเวียนสลับ ให้ออกดอกไม่ซ ้ำกันตลอดสำมฤดู ล้อมรอบประติมำกรรมชื่อ "ควำมต่อเนื่อง" เป็นรูป
เด็กยืนต่อตัวที่กลำงสวน นอกจำกนี้ ยังจัดแต่งสวนหินซึ่งประดับด้วยหินภูเขำกลมเกลี้ยงขนำดใหญ่ สวนน ้ำ
อุดมด้วยไม้น ้ำพันธุ์ต่ำงๆ บัว และสวนปำล์มที่รวบ รวมปำล์มไว้มำกมำยในพื้นที่ 13 ไร่ สวนแม่ฟ้ำหลวงจึงมี
พื้นที่ทั้งสิ้น 25 ไร่
3. อำคำรพระต ำหนักดอยตุง
โดยลักษณะกำรก่อสร้ำง เป็นกำรผสมผสำนระหว่ำง สถำปัตยกรรมล้ำนนำ บ้ำนปีกไม้ และบ้ำนแบบ
พื้นเมือง ของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มี ๒ ชั้น และชั้นลอยที่ประทับ ชั้นบนแยกเป็น ๔ ส่วน ทว่ำเชื่อมเป็น
อำคำรหลังเดียวกัน เสมอกับลำนกว้ำง ของยอดเนินเขำภำยในประกอบด้วย ชั้นบนที่แยกออกเป็น ๔ ส่วนนั้น
ได้แก่ ที่ประทับของ สมเด็จพระศรีนคริทรำบรมรำชชนนี ซึ่งประกอบด้วยห้องพระโรง และห้องเตรียมพระ
กระยำหำร นอกจำกนี้ เป็นห้อง ท่ำนผู้หญิงทัศนำวลัยฯ และที่ประทับของ สมเด็จพระเจ้ำพี่นำงเธอ เจ้ำฟ้ำกัลยำณิ
วัฒนำ กรมหลวงนรำธิวำสรำชนครินทร์ ชั้นล่ำง ซึ่งสร้ำงให้เกำะไปตำมไหล่เขำ ทรงโปรดเกล้ำฯ ให้เป็นที่อยู่
ของข้ำรำชบริพำร ด้ำนนอกพระต ำหนัก มีเชิงชำยไม้แกะสลัก เป็นลำยพื้นเมือง เรียกว่ำ “ ลำยเมฆไหล ” เหนือ
หลังคำมี กำแลลงรักปิดทอง ๑๔ คู่ แยกเป็นลำย พรรณพฤกษำแบบล้ำนนำ ๒ คู่ อีก ๑๒ คู่ เป็นลวดลำยพฤกษำ
สลับกับสัตว์ทั้ง ๑๒ รำศี อันเป็นตัวแทน ของแต่ละปีในรอบนักษัตร นอกจำกนี้ ที่บำนพระทวำรเข้ำพระต ำหนัก
มีลวดลำยรูป พระอำทิตย์ฉำยแสง ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ ของพลังอันแก่กล้ำ เหนือบำนประตูเป็น ภำพต้นไม้ทิพย์
และหมู่วิหค ทำงมุมซ้ำยเป็นรูปนกเค้ำแมว คอยดูแลสอดส่อง มิให้สิ่งชั่วร้ำยเล็ดลอด เข้ำไปในพระต ำหนักได้ ที่
กรอบทวำรมีข้อควำมว่ำ “ สรีสวัสสดี พุทธศักรำช ๒๕๓๑ ” อนึ่ง บนหลังคำพระต ำหนัก มีท่อน ้ำฝนท ำ จำก