Page 4 - ประวัติพระตำหนักดอยตุง
P. 4

เครื่องปั้นดินเผำชนิด ไม่เคลือบ รูปหัวเหรำ ปลำ กบ สลับกับพญำนำค ภำยในพระต ำหนัก ใช้ไม้สนภูเขำบุผนัง

               พื้นเป็นไม้สักทอง ซึ่งองค์กำรอุตสำหกรรมป่ำไม้ กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ น้อมเกลำฯ ถวำย ส ำหรับผนัง
               ในท้องพระโรง ประดับด้วย ภำพวำดสีน ้ำมันขนำดใหญ่ ๓ ภำพ ภำพแรกชื่อ “ ต ำนำนดอยตุง ” ศิลปินคือ นำย

               ปัณยำ ไชยะค ำ สองภำพหลังชื่อ “ ยำมตะวันชิงพลบ ” และ “ ดอยตุงยำมรำตรีสงัด ” ฝีมือของนำย บรรณรักษ์

               นำคบรรลังค์ ส่วนของเพดำนท้องพระโรง ทรงโปรดเกล้ำฯ ให้สมำคมดำรำศำสตร์ แห่งประเทศไทย ออกแบบ
               แกะสลัก เป็นสุริยจักรวำล ประกอบด้วย กลุ่มดำวในระบบสุริยะเรียงรำย กันไปตำมองศำ ของวันที่ ๒๑ ตุลำคม

               พ.ศ. ๒๔๔๓ อันเป็นวันพระรำชสมภพ รวมทั้งรูปดำวนพเครำะห์ กลุ่มต่ำงๆ ซึ่งทรงเลือกมำรวบรวมไว้ ด้วย

               พระองค์เอง ฝำผนังท้องพระโรงด้ำนหนึ่ง บุด้วยผ้ำปักรูปดอกไม้นำนำพันธุ์ บนผ้ำไหม ซึ่งชำวบ้ำนอ ำเภอสันป่ำ

               ตอง จังหวัดเชียงใหม่ น้อมเกล้ำฯ ถวำย ส่วนอีกด้ำนหนึ่ง แขวนผ้ำปักครอสติสรูปดอกไม้ จำกฝีพระหัตถ์ของ
               พระองค์ บริเวณด้ำนหน้ำของพระต ำหนัก ยังมีสวนดอกไม้ประดับนำนำพันธุ์ เรียกว่ำ “ สวนแม่ฟ้ำหลวง ” มี

               เนื้อที่ประมำณ ๑๐ ไร่ ออกแบบรูปทรง เป็นลำยผ้ำพื้นเมืองเหนือด้วยกำรปลูกไม้ดอกเมืองหนำว หลำกหลำย

               พันธุ์ เปิดให้ประชำชนเข้ำชม ได้โดยเก็บค่ำบ ำรุง


                    4. พระธำตุดอยตุง พระธำตุศักดิ์สิทธิ์ประจ ำปีกุน


                     พระบรมธำตุดอยตุง เป็นปูชนียสถำนที่ส ำคัญที่สุดของเชียงรำย ประดิษฐำนอยู่บนยอดดอยตุง ในเขตกิ่ง
               อ ำเภอ แม่ฟ้ำ หลวง มีถนนแยกจำกบ้ำนห้วยไคร้ขึ้นไปจนถึงองค์พระบรมธำตุองค์พระธำตุบรมธำตุเจดีย์ อยู่สูง

               จำกระดับ น ้ำทะเล ประมำณ 2000 เมตร ตำมต ำนำนมีว่ำ เดิมสถำนที่ตั้งพระบรมธำตุดอยตุง มีชื่อว่ำ ดอยดิน

               แดง อยู่บน เขำสำมเส้น ของพวกลำวจก ต่อมำสมัยพระเจ้ำอุชุตะรำช รัชกำลที่ 3 แห่งรำชวงศ์สิงหนวัต ผู้ครอง

               นครโยนก นำคนคร เมื่อปี พ.ศ. 1452 พระมหำกัสสป ได้น ำพระบรมสำรีริกธำตุในส่วนของพระรำกขวัญ
               เบื้องซ้ำย (ไหปลำร้ำ) ของพระพุทธเจ้ำมำถวำยซึ่งตรงตำมค ำท ำนำยของพระพุทธองค์ว่ำที่ดอยดินแดงแห่งนี้

               ต่อไปจะเป็นที่ประดิษฐำน พระมหำสถูปบรรจุ ุุพระบรมสำรีริกธำตุ ในภำยภำคหน้ำพระเจ้ำอุชุตะรำช มีพระ

               รำชศรัทธำ ได้เรียกหัวหน้ำลำวจก มำเฝ้ำพระรำชทำนทองค ำจ ำนวนแสนกษำปณ์ ให้เป็นค่ำที่ดินบริเวณดอยดิน
               แดงแก่พวกลำวจก แล้วทรงสร้ำง พระสถูปขึ้น โดยน ำธง ตะขำบยำว 3000 วำ ไปปักไว้บนดอยมื่อหำงธง

               ปลิวไปไกลเพียงใด้ ให้ก ำหนดเป็นฐำน พระสถูปเพียงนั้นดอย ดินแดงจึงได้ชื่อใหม่ว่ำ ดอยตุง (ค ำว่ำ ตุง แปลว่ำ

               ธง) เมื่อสร้ำงพระสถูปเสร็จก็ได้น ำ พระบรมสำรีริกธำตุดังกล่ำวบรรจุบรรจุไว้ให้คนสักกำรบูชำ ต่อมำสมัยพระ
               เจ้ำเม็งรำยมหำรำช แห่งรำชวงศ์ลำวจก พระมหำวชิระโพธิเถระได้น ำพระบรมสำรีริกธำตุมำถวำย จ ำนวนองค์

               พระเจ้ำเม็งรำยจึงโปรดเกล้ำ ฯ ให้สร้ำงพระ สถูปบรรจุพระบรมสำรีริกธำตุขึ้นอีกองค์หนึ่ง เหมือนกับพระสถูป

               องค์เดิมทุกประกำร ตั้งคู่กัน ดังปรำกฏอยู่จน ถึงทุกวันนี้ ชำวเชียงรำยมีประเพณีกำรเดิน ขึ้นดอยบูชำพระธำตุ ซึ่ง
               จัดเป็นประจ ำทุกปี สิ่งที่น่ำสนใจ : พระธำตุดอยตุง เป็นเจดีย์สีทองขนำดเล็กสององค์ สูงประมำณ 5 ม. บน

               ฐำนสี่เหลี่ยมย่อมุม มีซุ้มจระน ำสี่ทิศ องค์ระฆังและปลียอดมีขนำดเล็ก พระธำตุดอยตุง อยู่บนดอยสูงแวดล้อม
   1   2   3   4   5