Page 39 - NRCT 2021 e-book
P. 39

โครงการสัตว์เศรษฐกิจั


                                                ี
                     ปลาทูเป็นปลาคู่ครัวและเป็นท่นิยมของคนไทย
               มาอย่างยาวนาน ด้วยท่ผ่านมาเป็นปลาทะเลราคาถูกและหาง่าย
                                ี
                                                          �
               ตามท้องตลาด อย่างไรก็ตามปริมาณปลาทูท่จับได้ในน่านนาไทย
                                                          ้
                                               ี
                                   ี
                            ื
               ลดลงอย่างต่อเน่องจากท่เคยจับได้ราว 136,000 ตัน ในปี
               2550 ลดลงเกือบร้อยละ 50 มาอยู่ที่ 70,303 ตันในปี 2558
                              ี
                              ่
               และลดลงมาอยู่ท 29,378 ตันในปี 2562 (กรมประมง)
                                   �
               อันเป็นผลมาจากการทาประมงท่มากเกินกาลังการผลิต
                                                   �
                                           ี
                       ้
                     ์
                                                           ิ
                   ั
                       �
                                            ี
                                  ิ
                                                   ้
                                            ่
               ของสตวนาตามธรรมชาต และการเปลยนแปลงดานระบบนเวศ
               ซ่งประเด็นดังกล่าวสะท้อนถึงปัญหาท้าทายด้านประชากร
                ึ
               ปลาทูและนิเวศวิทยา นอกจากน ด้วยปริมาณการจับปลาท  ู
                                         ี
                                         ้
               ท่มีจากัด ประกอบกับปริมาณความต้องการบริโภคปลาท  ู
                   �
                ี
                              �
               ท่เพ่มข้นมาก จึงทาให้เกิดการนาเข้าปลาทูจากต่างประเทศ
                                        �
                  ิ
                     ึ
                ี
               เช่น อินเดีย เมียนมา โอมาน เป็นต้น เพิ่มขึ้นเพื่อให้เพียงพอ
               กับความต้องการของท้องตลาด นอกจากน้ปลาทูท่นาเข้า        โครงการดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพ่อจัดการ
                                                         ี
                                                          �
                                                  ี
                                                                                                         ื
                                     ี
                                                        �
                                                      ี
               จากต่างประเทศยังมีราคาท่ถูกกว่า จึงเป็นปัจจัยท่ทาให้ไทย   ความรู้และสรุปองค์ความรู้แบบเบ็ดเสร็จ (One Stop)
               นาเข้าปลาทูจากต่างประเทศ เช่น เมียนมา เวียดนาม    ตลอดห่วงโซ่คุณค่า เก่ยวกับปลาทูไทยซ่งเป็นสัตว์นาเศรษฐกิจ
                �
                                                                                                       ้
                                                                                 ี
                                                                                               ึ
                                                                                                       �
               และอินโดนีเซีย เป็นจานวนถึง 33,285 ตัน ในปี 2561 (กรมประมง)   และเป็นทรัพยากรทางทะเลท่สาคัญ รวมถึงข้อเสนอแนะ
                              �
                                                                                          �
                                                                                         ี
               ท�าให้ปลาทูน�าเข้า แย่งส่วนแบ่งตลาดปลาทูในประเทศไทย
                                                                 ท่สาคัญ/เร่งด่วนส�าหรับแก้ไขปัญหาและการพัฒนา
                                                                  ี
                                                                   �
                                                                 อย่างยั่งยืน 2) เพื่อศึกษาและเสนอแนวทางเชิงนโยบายโดยใช้
                                                                 องค์ความรู้จัดเป็นระบบตามห่วงโซ่คุณค่าในการแก้ไขปัญหา
                                                                 และพัฒนาการประมงและอุตสาหกรรมปลาทูของประเทศ
                                                                 ให้หน่วยงานท่เก่ยวข้องหลัก ได้แก่ กรมประมง สมาคม
                                                                               ี
                                                                             ี
                                                                 การประมงแห่งประเทศไทย และสมาคมสมาพันธ์ชาวประมง
                                                                  ื
                                                                 พ้นบ้านแห่งประเทศไทย และ  3)  เพ่อสร้างเครือข่าย
                                                                                                 ื
                                                                 ความร่วมมือแก้ไขปัญหาและพัฒนาปลาทูคู่ไทย ซ่งประกอบด้วย
                                                                                                     ึ
                                                                 สหสาขาวิชาการและภาคส่วนต่าง ๆ ได้แก่ หน่วยงาน
                                                 ู
                     ด้วยสภาวะความขาดแคลนปลาทภายในประเทศ         และบุคคลภาควิชาการ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม
                                    �
               จนต้องนาเข้าปลาทูเป็นจานวนมากในแต่ละปี หลายฝ่าย   หน่วยงานระหว่างประเทศ และจังหวัด/ท้องถิ่น
                      �
                                �
                                                   ื
                                                                                     �
               จึงเห็นควรให้มีการดาเนินการด้านต่าง ๆ เพ่อการอนุรักษ์     ผลจากโครงการทาให้ประเทศ หน่วยงาน/องค์กร
                            ี
               ปลาทูเกิดข้น ท่ผ่านมาภาครัฐได้ดาเนินการด้านนโยบาย   จังหวัด/ท้องถ่น/ชุมชน และนักวิชาการมีสรุปองค์ความรู้
                                            �
                                                                            ิ
                         ึ
               เช่น การปิดอ่าวและห้ามจับปลาในฤดูวางไข่เพ่อการอนุรักษ์   แบบเบ็ดเสร็จ (One Stop) ตามห่วงโซ่คุณค่าเก่ยวกับปลาทูไทย
                                                    ื
                                                                                                    ี
                                                                                               �
               การบังคับใช้กฎหมาย เช่น พระราชกาหนดการประมง       พร้อมท้งองค์ประกอบสนับสนุนความสาเร็จของห่วงโซ่คุณค่า
                                               �
                                                                       ั
                                                                                                       ื
                                          ี
               พ.ศ. 2558 แก้ไข พ.ศ. 2560 ท่มิให้เรือประมงจับสัตว์นา   ของปลาทู และข้อเสนอแนะท่สาคัญ/เร่งด่วน เพ่อการแก้ไข
                                                             ้
                                                             �
                                                                                          �
                                                                                        ี
                                                                                       ั
                                                                                                              ึ
                                 ี
                              ั
                              ้
                                                  ิ
                                                                                                            ิ
               ขนาดเล็ก  รวมทงมการสนับสนนการวจัยและพฒนา          ปัญหาและการพัฒนาอย่างย่งยืนและเกิดประสิทธิผลเพ่มข้น
                                                          ั
                                           ุ
               ด้านการเพาะเล้ยงปลาทูในเชิงพาณิชย์ แต่ยังไม่ประสบผลสาเร็จ   และเกดเครอข่ายความร่วมมอแก้ไขปัญหาและพฒนาปลาท  ู
                                                          �
                           ี
                                                                      ิ
                                                                          ื
                                                                                                       ั
                                                                                       ื
                        ึ
                                                                       ี
               เท่าที่ควร ซ่งเป็นความท้าทายของภาครัฐในการบริหารจัดการ   คู่ไทย ท่ประกอบด้วยภาคส่วนต่าง ๆ และสหสาขาวิชาการ
                                                                                                               ิ
               และการออกกฎหมายและกฎระเบียบท่จะนาไปสู่การพัฒนา    ซ่งร่วมทางานกันอย่างต่อเน่องด้านปลาทูไทย โดยเฉพาะอย่างย่ง
                                                                  ึ
                                              ี
                                                 �
                                                                                     ื
                                                                       �
               ปลาทูคู่ไทยอย่างยั่งยืนต่อไป                      ในโครงการปลาทูคู่ไทยระยะต่อ ๆ ไป
                                                                                     ส�ำนักงำนกำรวิจัยแห่งชำติ (วช.)  37
                                                                                             รายงานประจ�าปี 2564
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44