Page 36 - หลักสูตรวิชาป้องกันทุจริต
P. 36
“จริยธรรม” เป็นหลักสำาคัญในการควบคุมพฤติกรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ เปรียบเสมือนโครงสร้างพื้นฐาน
ที่เจ้าหน้าที่ของรัฐต้องยึดถือปฏิบัติ
“การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม” เป็นพฤติกรรมที่อยู่ระหว่างจริยธรรมกับการทุจริต
ที่จะก่อให้เกิดผลประโยชน์ส่วนตนกระทบต่อผลประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งพฤติกรรมบางประเภทมีการบัญญัติเป็น
ความผิดทางกฎหมายมีบทลงโทษชัดเจน แต่พฤติกรรมบางประเภทยังไม่มีการบัญญัติข้อห้ามไว้ในกฎหมาย
“การทุจริต” เป็นพฤติกรรมที่ฝ่าฝืนกฎหมายโดยตรง ถือเป็นความผิดอย่างชัดเจน สังคมส่วนใหญ่จะมีการ
บัญญัติกฎหมายออกมารองรับ มีบทลงโทษชัดเจน ถือเป็นความผิดขั้นรุนแรงที่สุดที่เจ้าหน้าที่ของรัฐต้องไม่
ปฏิบัติ
“เจ้าหน้าที่ของรัฐที่ขาดจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ โดยเข้าไปกระทำาการใดๆ ที่เป็นการขัดกันระหว่าง
ประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม ถือว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้นขาดความชอบธรรมในการปฏิบัติหน้าที่
และจะเป็นต้นเหตุของการทุจริตต่อไป”
รูปแบบของการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม
ก�รขัดกันระหว่�งประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมมีได้หล�ยรูปแบบไม่จำ�กัดอยู่เฉพ�ะ
ในรูปแบบของตัวเงิน หรือทรัพย์สินเท่�นั้น แต่รวมถึงผลประโยชน์อื่นๆ ที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบของตัวเงิน
หรือทรัพย์สินด้วย ทั้งนี้ John Langford และ Kenneth Kernaghan ได้จำ�แนกรูปแบบของก�รขัดกัน
ระหว่�งประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม ออกเป็น ๗ รูปแบบ คือ
๑) การรับผลประโยชน์ต่างๆ (Accepting benefits) ซึ่งผลประโยชน์ต่�งๆ ไม่ว่�จะเป็น
ทรัพย์สิน ของขวัญ ก�รลดร�ค� ก�รรับคว�มบันเทิง ก�รรับบริก�ร ก�รรับก�รฝึกอบรม หรือสิ่งอื่นใด
ในลักษณะเดียวกันนี้ และผลจ�กก�รรับผลประโยชน์ต่�งๆ นั้น ได้ส่งผลให้ต่อก�รตัดสินใจของเจ้�หน้�ที่
ของรัฐในก�รดำ�เนินก�รต�มอำ�น�จหน้�ที่
ำ
๒) การทาธุรกิจกับตนเอง (Self - dealing) หรือเป็นคู่สัญญา (Contracts) เป็นก�รที่
่
ำ
ำ
้
้
้
่
เจ�หน�ที่ของรัฐ โดยเฉพ�ะผูมีอ�น�จในก�รตัดสินใจ เข�ไปมีสวนไดเสียในสัญญ�ที่ท�กับหนวยง�นที่ตน
้
้
ำ
็
สังกัด โดยอ�จจะเปนเจ�ของบริษัทที่ท�สัญญ�เอง หรือเปนของเครือญ�ติ สถ�นก�รณเชนนี้เกิดบทบ�ท
์
้
็
่
ที่ขัดแย้ง หรือเรียกได้ว่�เป็นทั้งผู้ซื้อและผู้ข�ยในเวล�เดียวกัน
้
ำ
่
ำ
๓) การทางานหลังจากออกจากตาแหนงหนาที่สาธารณะหรือหลังเกษียณ (Post-employ-
ment) เป็นก�รที่เจ้�หน้�ที่ของรัฐล�ออกจ�กหน่วยง�นของรัฐ และไปทำ�ง�นในบริษัทเอกชนที่ดำ�เนิน
ธุรกิจประเภทเดียวกันหรือบริษัทที่มีคว�มเกี่ยวข้องกับหน่วยง�นเดิม โดยใช้อิทธิพลหรือคว�มสัมพันธ์
จ�กที่เคยดำ�รงตำ�แหน่งในหน่วยง�นเดิมนั้น ห�ประโยชน์จ�กหน่วยง�นให้กับบริษัทและตนเอง
หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม “การป้องกันการทุจริต” 29