Page 10 - แนวการจัดกิจกรรม Active Learning History Thai
P. 10

คำานำา

                                       (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๓)



                                                                      �
                                                              ื
                     สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นพ้นฐานกาหนดให้โครงการ
                      �
                                                           ั
                                                                                     �
                                                   ี
                                                                                    ี
            การ      การพัฒนาผู้เรียนให้พร้อมเป็นพลเมืองท่มีความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะท่จาเป็น
                                                                    ื
                                   �
            ในศตวรรษท่ ๒๑ มีความสาคัญอย่างย่งต่อประเทศ โดยเฉพาะเพ่อการแข่งขันทางเศรษฐกิจ
                       ี
                                             ิ
            อย่างไรก็ตาม เพื่อธ�ารงไว้ซึ่งความมั่นคง สถาพรของประเทศชาติ การจัดการศึกษาเพื่อบ่มเพาะ
            ผู้เรียนให้รักและภาคภูมิใจในรากเหง้าของตนเอง ในประวัติศาสตร์ ความเป็นมาของชาต  ิ
            ในขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมและภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ก็มีความส�าคัญเช่นกัน
                       ื
                                                    ื
                     เพ่อพัฒนาผู้เรียนระดับการศึกษาข้นพ้นฐานให้พร้อมเป็นพลเมืองท่มีความรู้ ทักษะ
                                                 ั
                                                                            ี
                        �
            สมรรถนะท่จาเป็นในศตวรรษท่ ๒๑ เกิดความรักและภาคภูมิใจในประวัติศาสตร์ชาติไทย
                                       ี
                      ี
                                                              �
            แสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ สานักงานคณะกรรมการการศึกษา
                              �
            ข้นพ้นฐาน ได้น้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร
                ื
              ั
                                                                                   �
            รามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นแนวทางใจความสาคัญว่า
            “...การศึกษาต้องมุ่งสร้างพ้นฐานให้แก่ผู้เรียนใน ๒ ด้าน คือ ส่งเสริมให้นักเรียนมีทัศนคต ิ
                                    ื
                                                                   ั
              ี
                                                                  ี
                                      ุ
            ท่ถูกต้องต่อบ้านเมือง และม่งสร้างพ้นฐานชีวิตหรืออุปนิสัยท่ม่นคง...” และรับใส่เกล้าฯ
                                             ื
                                                  ิ
                          �
            กระแสพระราชดารัส สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
                                                                          �
            ท่แสดงความห่วงใยต่อการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย กาหนดให้โครงการ
              ี
                                                                  ื
                                                                        ี
            การพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนวิชาท่มีเน้อหาเก่ยวกับประวัติศาสตร์
                                                              ี
                                                                   �
            และสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นจุดเน้นเชิงนโยบาย และได้ดาเนินโครงการการพัฒนา
            การจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยตามแนวพระราชดาริของสมเด็จพระนางเจ้า
                                                                  �
            สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง “การเสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์
                                                                                    ี
                                                                       ึ
            ผ่านกิจกรรม Active Learning การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย” ซ่งเป็นโครงการท่มุ่งเน้น
                                                  ื
            พัฒนาการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ เพ่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจประวัติศาสตร์
                                                     ี
            ชาติไทย ได้รับการเสริมสร้างทักษะในศตวรรษท่ ๒๑ ผ่านการลงมือปฏิบัติกิจกรรมรูปแบบ
            Active Learning ที่บ่มเพาะและปลูกฝังความรัก ความภาคภูมิใจในชาติไทยและแสดงออกถึง
            ความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15