Page 15 - แนวการจัดกิจกรรม Active Learning History Thai
P. 15
ทักษะทางประวัติศาสตร์
�
ึ
�
ทักษะ หมายถึง ความชานาญในการกระทาหรือการปฏิบัติอย่างใดอย่างหน่ง
�
้
่
ึ
ซ่งอาจเป็นทักษะด้านร่างกาย สติปัญญา หรือสังคม ท่เกิดข้นจากการฝึกฝนหรือการกระทาซา ๆ
ี
ึ
�
�
ทักษะทางประวัติศาสตร์ หมายถึง ความสามารถ ความชานาญในการรวบรวม
หลักฐานต่าง ๆ การประเมินค่าหลักฐาน การฝึกคิดวิเคราะห์ตามบริบททางประวัติศาสตร์ คือ
ี
ี
การต้องรู้จักบุคคล เวลา สถานท่ และรู้จักเช่อมโยงข้อมูลจากหลักฐานท่ได้รับกับองค์ความรู้
ื
ต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจน
ทักษะทางประวัติศาสตร์ เป็นทักษะการคิดวิเคราะห์ในมิติประวัติศาสตร์
ั
�
�
เน้นการต้งคาถามตลอดเวลา ไม่ใช่เพียงการนาข้อมูล หลักฐานท่รวบรวมได้มาเรียงต่อกัน
ี
ทักษะทางประวัติศาสตร์ 1S2C จึงเป็นทักษะที่ผู้สอนต้องจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียน
ี
มีความสามารถอย่างเช่ยวชาญในการใช้ความคิดท่เป็นกระบวนการ เป็นเหตุเป็นผล
ี
มีวิจารณญาณ เปิดกว้างทางความคิดเห็น เพ่อสืบสอบเร่องราวบนพ้นฐานข้อมูลหลักฐาน ข้อเท็จจริง
ื
ื
ื
ที่ปรากฏ ประกอบด้วยทักษะที่เป็นล�าดับขั้นตอน ได้แก่
ี
ั
ื
๑. ข้นการรู้จักเอกสารหลักฐานท่หลากหลาย (Sourcing) หลักฐานเป็นพ้นฐาน
�
สาคัญของการสืบค้นประวัติศาสตร์ กระบวนการรวบรวมข้อมูลหลักฐานจากแหล่งต่าง ๆ
ี
ิ
ี
ื
�
จึงเป็นกระบวนการเร่มต้นท่สาคัญของการสืบค้นเร่องราวท่เกิดข้นไปแล้ว ผู้สอนจึงควร
ึ
ิ
ิ
ั
ู
ี
ื
ั
ู
จดกระบวนการเรียนร้ทส่งเสรมให้ผ้เรยนเกดทกษะในการสบค้นข้อมูล วางแผนรวบรวมข้อมล
ู
ี
่
ี
ั
ั
หลักฐานจากแหล่งต่าง ๆ ท้งหลักฐานช้นต้น คือ หลักฐานท่เกิดร่วมสมัยกับเหตุการณ์น้น ๆ
ั
ั
หรือมีการบันทึกร่วมสมัยกัน และหลักฐานช้นรอง คือ งานเขียนท่ใช้หลักฐานช้นต้นมาศึกษา
ี
ั
วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น เกิดขึ้นภายหลังเหตุการณ์
ั
ตวอย่างหลักฐานทางประวติศาสตร์ท่ผู้เรียนอาจพบได้ใกล้ตว เช่น เอกสาร
ี
ั
ั
ทางราชการ บทความในหนังสือพิมพ์ การสัมภาษณ์ ภาพถ่าย ข้อมูลท่ได้จากการสืบค้น
ี
ทางอินเทอร์เน็ต โบราณสถาน โบราณวัตถุ เป็นต้น
ั
๒. ข้นการประเมินค่าของหลักฐาน (Corroboration) คือ กระบวนการ
ื
ตรวจสอบประเมินค่าเน้อหาและข้อมลทปรากฏจากข้อมูลภายในหลักฐานเอง เช่น การตรวจสอบ
ู
ี
่
ี
ี
ี
วัน เดือน ปี ท่ผลิตหรือสร้างเอกสาร การตรวจสอบช่อบุคคล สถานท่ท่ปรากฏ การเทียบ
ื
ศักราชในเอกสาร การตรวจสอบความน่าเชื่อถือ อคติของผู้เขียน ข้อเท็จจริง การบิดเบือนข้อมูล
ความหมายที่แท้จริง เป็นต้น
ี
ื
การจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการประเมินค่าเน้อหา
ื
ื
ิ
ี
ู
ั
ั
้
่
และข้อมลทปรากฏในหลกฐานนน ๆ โดยเฉพาะมตความน่าเชอถออคตของผ้เขยน
ู
ี
่
ิ
ิ
ี
ั
ู
�
ข้อเท็จจริง การบิดเบือนข้อมูล ความหมายท่แท้จริง ถือเป็นข้นตอนสาคัญทผ้เรยน
ี
่
ี
จะได้ฝึกทกษะการคิดวเคราะห์ การคดพิจารณาความน่าเชอถือ ตามตรรกะและความสมเหตสมผล
ั
ื
ิ
่
ิ
ุ
2 แนวการจัดกิจกรรม Active Learning ที่เสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์ :
ประวัติศาสตร์ชาติไทย