Page 14 - แนวการจัดกิจกรรม Active Learning History Thai
P. 14
ทักษะทางประวัติศาสตร์
และกิจกรรมเสริมสร้างการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ คือ พื้นฐานเบื้องต้นในการรู้จักและเข้าใจคุณค่าความส�าคัญ
ของอดีต ด้วยการคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ วินิจฉัย บนพ้นฐานของความเป็นเหตุเป็นผล
ื
ี
จากหลกฐานข้อเท็จจริงท่หลากหลาย ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นนักคิด มีเหตุมีผล
ั
กระบวนการศกษาทางประวัติศาสตร์ หรือวิธีการทางประวัติศาสตร์มุ่งเสริมสร้างจิตใจ
ึ
ั
ั
ี
ู
ู้
ู้
ู
ี
ี
ี
�
้
�
�
ให้เป็นผ้ใฝ่เรยนร รจกตงคาถามและค้นหาคาตอบ ทาให้ได้เรยนร้บทเรยนจากอดต ความเป็นมา
ของสังคมในพื้นที่และบริบทของเวลาต่าง ๆ
ี
ประวัติศาสตร์เปรียบเสมือนกระจกท่ส่องให้เห็นสังคมมนุษย์ ณ ช่วงเวลาหน่ง
ึ
ื
ี
ี
ึ
ในพ้นท่ท่หน่ง ท่มีพัฒนาการสืบเน่องมาจนถึงปัจจุบัน สอนให้เรารู้จักตนเอง รวมถึง
ี
ื
�
ความเป็นมาของชมชน ท้องถนและประเทศชาติ ปลกจตสานกในความเป็นชาต รักและ
ิ
่
ิ
ู
ึ
ิ
ุ
ภาคภูมิใจในบรรพบุรุษที่ก่อตั้งชาติบ้านเมือง
่
ื
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ จึงมีจุดมุ่งหมายเพอให้ผู้เรียนได้ตระหนัก
ื
ถึงความสาคัญของประวัติศาสตร์และเน้อหาทางประวัติศาสตร์ต่าง ๆ เพ่อพัฒนาทักษะ สมรรถนะ
ื
�
ั
ี
ั
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ท้งน้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์อาจจัดได้ท้งรูปแบบ
กิจกรรมในห้องเรียนและกิจกรรมนอกห้องเรียน ซ่งการเรียนรู้เน้อหาสาระ หลักการ และ
ึ
ื
ื
ทฤษฎีในห้องเรียนจะเป็นรูปธรรม เข้าใจได้ง่ายและชัดเจนข้นเม่อผู้เรียนได้สัมผัส รับรู้
ึ
เกิดประสบการณ์ตรงจากส่งท่ได้เรียนรู้หรือกาลังศึกษาอยู่จากการจัดกิจกรรมนอกห้องเรียน เช่น
�
ิ
ี
การทาโครงงานประวัติศาสตร์ การทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ การเรียนรู้นอกสถานท ่ ี
�
ี
ถือเป็นการเรียนรู้ท่มีชีวิตชีวา สร้างประสบการณ์ ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
เกิดเป็นการสร้างการเรียนรู้ที่มีความหมายให้แก่ผู้เรียน
ื
�
เม่อผู้เรียนเกิดความตระหนักว่า วิชาประวัติศาสตร์ เป็นวิชาสาคัญต่อการพัฒนา
ทักษะการคิดวิเคราะห์ และผลของการเรียนวิชาประวัติศาสตร์จะพัฒนากระบวนการคิด
อย่างเป็นระบบแล้ว ผู้สอนควรเน้นยาในรายละเอียดของทักษะทางประวัติศาสตร์ และข้นตอน
ั
้
�
ื
�
ในการจัดกิจกรรมประวัติศาสตร์ เพ่อให้ผู้เรียนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ เช่น
�
การเลือกบริโภคข้อมูลข่าวสาร การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล การตรวจสอบแหล่งที่มา
ของข้อมูล การแสดงความคิดเห็นอย่างมีตรรกะ สมเหตุสมผล เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะท�าให้ผู้เรียน
ไม่โน้มเอียง หรือเช่อโดยไม่มีหลักฐาน และสามารถแสดงเหตุผลในการเลือกเช่อหรือปฏิบัต ิ
ื
ื
สิ่งนั้น ๆ ได้
แนวการจัดกิจกรรม Active Learning ที่เสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์ : 1
ประวัติศาสตร์ชาติไทย