Page 26 - แนวการจัดกิจกรรม Active Learning History Thai
P. 26

แผนการจัดกิจกรรม

                        ชุดกิจกรรม ทักษะทางประวัติศาสตร์ - ลำาดับกษัตริย์สุโขทัย


            มาตรฐานการเรียนรู้

                     ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
                                                   �
            สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ



            ตัวชี้วัด

                     ส ๔.๑ ป.๔/๓ แยกแยะประเภทหลักฐานที่ใช้ในการศึกษาความเป็นมาของท้องถิ่น
                     ส ๔.๑ ป.๖/๑ อธิบายความส�าคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างง่าย ๆ
                                                                         �
                                                         ี
                     ส ๔.๑ ป.๖/๒ นาเสนอข้อมูลจากหลักฐานท่หลากหลายในการทาความเข้าใจเร่องราว
                                                                                    ื
                                  �
            ส�าคัญในอดีต
            สิ่งที่ได้เรียนรู้

                     ๑. จะรู้เร่องราวในอดีตต้องสืบค้นจากร่องรอยหลักฐาน ซ่งมีหลากหลายชนิด และ
                                                                     ึ
                             ื
            มีความน่าเชื่อถือแตกต่างกันไป
                     ๒.  รายชื่อและล�าดับของพระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย
                     ๓.  การท�าเส้นเวลา (Timeline)



            กิจกรรม ๑ : ทักษะทางประวัติศาสตร์
                     การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ควรศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยใช้กระบวนการและวิธีการ

                                                                          ั
                              ึ
                                                                                   ี
            ทางประวัติศาสตร์ ซ่งในการวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบน้น ทักษะท่ต้องการ
            ให้เกิดข้นกับผู้ร่วมกิจกรรมในการเรียนรู้ประวัติศาสตร์รูปแบบ Active Learning คือ ทักษะ 1S2C
                   ึ
            (Sourcing Corroboration Contextualizing) ผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์ ๕ ขั้นตอน ดังนี้
                     ขั้นที่ ๑ ตั้งประเด็นค�าถาม
                     ขั้นที่ ๒ รวบรวมหลักฐานข้อมูล มากกว่า ๑ ชิ้น (Sourcing)

                     ขั้นที่ ๓ วิพากษ์หลักฐาน/ประเมินค่า หลักฐานแต่ละชิ้น (Corroboration)
                                                                 ิ
                      ั
                     ข้นท่ ๔ วเคราะห์/ตีความ เปรียบเทียบ เช่อมโยงบรบทของหลักฐานท่รวบรวมได้
                             ิ
                                                                                ี
                                                         ื
                         ี
            เพื่อเรียบเรียงให้ได้เรื่องราวทางประวัติศาสตร์ (Contextualizing)
                     ขั้นที่ ๕ สรุป/น�าเสนอ

                                        แนวการจัดกิจกรรม Active Learning ที่เสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์ :   13
                                                                   ประวัติศาสตร์ชาติไทย
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31