Page 27 - แนวการจัดกิจกรรม Active Learning History Thai
P. 27

ขั้นตอนการจัดกิจกรรม

                                                               ั
                     ๑. แบ่งผู้ร่วมกิจกรรมเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๑๐ คน จากน้นแจกหลักฐานทางประวัติศาสตร์
            หมายเลข ๑ - ๑๐ ให้กลุ่ม ให้สมาชิกในกลุ่มรับผิดชอบศึกษาเอกสาร คนละ ๑ ชิ้น
                                                                                        ั
                                                                   ี
                     ๒. ให้สมาชิกแต่ละคนประเมินค่าและวิพากษ์หลักฐานท่ตนเองได้รับว่าหลักฐานน้น
                                                         ั
                                         ั
                                                                ี
                                                         ้
                                         ้
                                           ้
                                                    ั
                                               ื
            เปนหลกฐานประเภทใด (หลกฐานชนตน หรอ หลกฐานชนรอง) มความนาเชอถอมากนอยเพยงใด
                                                                                     ี
                                                                                 ้
                  ั
              ็
                                   ั
                                                                         ื
                                                                      ่
                                                                           ื
                                                                         ่
                                                                               ี
            แล้วส่งต่อให้สมาชิกในกลุ่มทางขวามือ พร้อมรับหลักฐานช้นต่อไปจากสมาชิกท่ส่งมาให้ทาง
                                                              ิ
            ซ้ายมือ พิจารณาหลักฐานชิ้นที่อยู่ในมือ ท�าเช่นนี้จนทุกคนได้ศึกษาเอกสารทุกชิ้น
                          �
                                   ั
                                            �
                     ๓. ผู้นากิจกรรมต้งประเด็นคาถามว่า เอกสารหมายเลข ๑ - ๑๐ ให้ข้อมูลอะไรบ้าง
            หากอยากทราบประวัติของบุคคลหนึ่ง ๆ จะศึกษาจากหลักฐานใดบ้าง หลักฐานนั้น ๆ สามารถ
            เชื่อมโยงข้อมูลกันได้อย่างไร เช่น ระหว่างส�าเนาทะเบียนบ้านกับสูติบัตร
                                   ี
                                                            ี
                     ๔. ผู้นากิจกรรมช้ให้เห็นว่าการศึกษาหลักฐานท่รวบรวมมาได้จากแหล่งต่าง ๆ ควร
                          �
            ประเมินค่าหลักฐานแต่ละชิ้นว่ามีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด และควรหาหลักฐานมากกว่า
            ๑ ชิ้น เพื่อประกอบการวิเคราะห์ เชื่อมโยงหาค�าตอบตามประเด็นค�าถามที่ก�าหนด
                     ๕. ผู้ร่วมกิจกรรมร่วมกันสรุปว่า การศึกษาประวัติของบุคคล ควรรวบรวมหลักฐาน
            ที่เกี่ยวข้องกับตัวบุคคลหลาย ๆ ชิ้น เพื่อท�าการวิเคราะห์ความเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ของข้อมูล
            อันจะท�าให้การเขียนบรรยายสรุปเกี่ยวกับบุคคลนั้น ๆ มีความครบถ้วนและน่าเชื่อถือ
            กิจกรรมที่ ๒ : ลำาดับกษัตริย์สุโขทัย
                     ๑. ต้งประเด็นคาถามเพ่อกระตุ้นการเรียนรู้ว่า “พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย
                                          ื
                                   �
                         ั
            มีกี่พระองค์และแต่ละพระองค์มีความสัมพันธ์กันอย่างไร”
                                                           ์
                                                            �
                                                                    ิ
                                                                    ้
                                        ั
                            ิ
                         ้
                         ู
                          �
                     ๒.  ผนากจกรรมแจกหลกฐานทางประวัตศาสตร จานวน ๕ ชน  (เอกสารหมายเลข ก - จ)
                                                     ิ
            ให้แต่ละกลุ่ม ประกอบด้วย
                       เอกสารหมายเลข ก ศิลาจารึกพ่อขุนรามค�าแหง (จารึกหลักที่ ๑)
                       เอกสารหมายเลข ข ศิลาจารึกพ่อขุนรามค�าแหง (จารึกหลักที่ ๑)
                       เอกสารหมายเลข ค จารึกปู่ขุนจิดขุนจอด
                       เอกสารหมายเลข ง จารึกนครชุม (จารึกหลักที่ ๓)
                       เอกสารหมายเลข จ ชินกาลมาลีปกรณ์
                                                                    �
                     ๓. แต่ละกลุ่มศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ โดยให้ทากิจกรรม ตามใบกิจกรรม
            ตาราง ล�าดับกษัตริย์สุโขทัย ชิ้นงานที่เกิดขึ้น คือ แผนภูมิพระมหากษัตริย์ในสมัยสุโขทัย


            14        แนวการจัดกิจกรรม Active Learning ที่เสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์ :
                      ประวัติศาสตร์ชาติไทย
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32