Page 161 - BookHISTORYFULL.indb
P. 161

ี
                            นายธวัชชัย  เนียมพูนทอง ผู้ใหญ่บ้านหมู่ท่ ๔ บ้านลาดสะแก เล่าว่าบริเวณน  ี ้
                                                                      ี
                                                              �
                     เคยเป็นป่าท่ต้นสะแกข้นเป็นจานวนมาก ต่อมาป่าถูก ทาลายเป็นท่อยู่ และมีตัดถนนผ่าน ป่า
                                     ึ
                                           �
                              ี
                     สะแกก็หมดไป บ้านลาดสะแก สภาพพ้นท่ลาดเอียงไปทางทิศใต้เขาเลยเรียกบ้านลาดสะแก
                                                 ื
                                                    ี
                            หลวงตาบัว เกตุกิ่งแก้ว พระวัดโคกเขมา อายุ ๘๘ ปี หมู่ที่ ๕ บ้านโคกเขมาบวช
                     เป็นพระมาเกือบ ๕๐ พรรษา บอกว่าได้ยินได้ฟังมาจากหลวงพ่อคนเก่าว่า เขาก็เรียกกัน
                     อย่างนี้มาแต่ไหนแต่ไร  ซึ่งก็ไม่เคยสงสัยอะไร
                            คุณยายสวิง  นาคจินวงศ์ อายุ ๘๐ปี อยู่บ้านโคกเขมาเล่าว่าสมัยที่ท่านเป็นเด็ก
                     ปีที่เกิดน�้าท่วมใหญ่ประมาณ พ.ศ. ๒๔๘๓ ที่นี่น�้าท่วมไม่ถึง เพราะเป็นที่สูงเป็นโคกใหญ่
                     มีพุ่มไม้ขนาดกลาง เยอะมากมีผลเป็นพวงๆ กินได้แต่รสเปรี้ยวมาก คนแถบนั้นเรียกต้น

                     ข้าวเม่า ต่อมาน่าจะเกิดการออกเสียงเพี้ยนไป กร่อนส�าเนียงเป็น “โคก-ขะ-เหมา”
                            คุณตาไร  เข็มทอง  อายุ ๘๓  ปี เป็นคนโคกช้าง โดยก�าเนิดเล่าว่าที่แถบนี้แต่ก่อน
                     เป็นป่าเป็นโคกสูง
                                       ี
                                                    ้
                                                    �
                                                          ี
                                ี
                                                                             �
                            เป็นท่พักช้างท่ลากซุงมาลงแม่นาทางท่ช้างเดินเป็นล่องลึกเป็นลาคลอง ปัจจุบัน
                     ยังมีต้นซุงใหญ่ฝังอยู่ในคลองเอาข้นมาไม่ได้ ทางการเขาจะยึดเอาไป เขาเรียกกันว่าบ้าน
                                               ึ
                     “คอกช้าง” บ้าง  “โคกช้าง” บ้าง มาแต่ไหนแต่ไรนั้นตาไม่รู้ แต่แถวนี้ปู่ย่าตาทวดเคยพูดว่า
                     มาต่างอพยพจากเวียงจันทน์
                            นายเทียน  ญาติบรรทุง อายุ ๘๐ ปี อตีตข้าราชการครู เเกิด และเติบโตที่คอกช้าง
                      ี
                     น้เล่าว่าสมัยท่ยังเป็นเด็กเคยว่งเล่นบนท่อนซุง ต่อมาเขาเอาไปถวายวัดทุ่งน้อย แปรรูปสร้าง
                                           ิ
                               ี
                     ศาลาวัด ข้างหมู่บ้านเป็นป่าช้า ป่าไผ่ใหญ่ และรกทึบ เขาว่าเป็นที่เลี้ยงช้าง ปัจจุบันพื้นที่ดัง
                     กล่าวเป็นที่ตั้งโรงเรียน


                            ครู    :      เป็นอย่างไรบ้าง งานส�าเร็จไหม ได้อะไรมาบ้าง เอามาดูกันซิ
                            นักเรียน :     ครูครับ  หมู่ที่ ๖ ผมยังไม่รู้เลยว่าชื่อบ้านโคกช้าง หรือ “บ้าน
                                          คอกช้าง” กันแน่ แต่ที่หน้าหมู่บ้านเขียนว่า “บ้านคอกช้าง”
                                   :      หมู่ท่ ๔ ก็เหมือนกันบางคนเรียกบ้าน “สาดสะแก” บางคน
                                              ี
                                                             ี
                                          เรียกบ้าน “ลาดตะแก” ท่สาคัญนะครับ สมัยผู้ใหญ่คนเก่าเขียน
                                                              �
                                          ชื่อ “หมู่บ้านลาสแก” แต่ปัจจุบันเขียน “บ้านลาดสะแก”
                            ครู    :      แล้วหมู่ที่ ๕ บ้านโคกเขมาล่ะมีปัญหาอะไรไหม
                             ั
                                                                           ั
                                ี
                            นกเรยน :      ไม่มีครับ ผมเช่อว่ามาจากต้นข้าวเม่าน่นแหละครับแล้ว
                                                        ื
                                          กร่อนเสียงเหลือแต่ โคก-ขะ–เหมา




                                                                                           159
   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166