Page 162 - BookHISTORYFULL.indb
P. 162

ื
                    �
                                                  ี
                 จุดสาคัญของการเรียนรู้ช่อบ้านนามเมืองท่ครูต้งเป้าหมายไว้ ประการแรกคือ
                                                      ั
          ให้นักเรียนฝึกการสืบค้นความรู้ด้วยวิธีการง่ายๆ คือ “การสัมภาษณ์” เป็นการศึกษา
          ประวัติศาสตร์บอกเล่าอย่างง่าย ให้เข้าใจว่าข้อมูลหลายอย่างอยู่ในความทรงจาของผู้คน ไม่
                                                                    �
          ได้อยู่ในเอกสารหรือต�าราเท่านั้น
                 นอกจากนี้การสรุปผลการเรียนรู้ จากข้อมูลที่กระจัดกระจาย เพื่อใช้เป็นข้อสรุป

          เบื้องต้นส�าหรับการค้นคว้าและสืบค้นต่อไป นักเรียนได้ข้อสรุป ดังนี้
                         ื
                                                          ื
                       ั
                 ๑. การต้งช่อหมู่บ้านของชุมชนในแถบภาคกลาง มักใช้ช่อลักษณะของภูมิประเทศ
          ของหมู่บ้าน ได้แก่ ทุ่ง ห้วย โคก ลาด สระ แล้วตามด้วยเอกลักษณ์เฉพาะได้แก่ พันธุ์ไม้ที่
                                                    ี
           ึ
                   ั
          ข้นบริเวณน้น ได้แก่ ต้นสะแก ต้นข้าวเม่า หรือเป็นสัตว์ท่เคยอยู่หรือร่องรอยต่างๆ เช่น ช้าง
          เป็นต้น
                 ๒. สาเหตุที่มีการเรียกชื่อแตกต่างกัน เนื่องจากแต่เดิมเป็นบอกเล่าต่อกันมา ยัง
          ไม่มีการเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างเป็นระบบ ท�าให้เกิดการเพี้ยน หรือกร่อนค�า ไป
          ตามการรับรู้ของผู้คนในช่วงเวลานั้นๆ

                 ๓. การเปล่ยนแปลงของสภาพสังคม และภูมิศาสตร์ ทาให้ส่งท่เคยปรากฏในอดีต
                         ี
                                                         �
                                                             ิ
                                                                ี
                                                           ื
                                                ี
            ี
          เปล่ยนแปลงไปด้วย นักเรียนพบว่าต้นไม้หรือสัตว์ท่เคยปรากฏในช่อหมู่บ้านลดน้อยลงหรือ
          สูญหายไปหมดแล้ว
                 ๔. ในอดีตเคยมีเหตุการณ์ของการอพยพของผู้คนเข้ามาอยู่ในพื้นที่แถบนี้ ได้แก่
          ชาวลาวจากเวียงจันทน์ ชาวเขมร ข้อมูลนี้ท�าให้นักเรียนบางคนตั้งข้อสังเกตว่าชื่อของบ้าน
          โคกเขมา ที่อ่านว่า “ขะ-เหมา” จะมาจากภาษาเขมรที่แปลว่า “สีด�า” หรือที่ภาษาไทยยืมมา
          ใช้เรียกสิ่งที่เป็นสีด�าว่า “เขม่า” เช่น เขม่าควัน  เป็นประเด็นที่จุดประกายให้นักเรียนอยาก
          ไปสืบค้นต่อไปอีก

                 ประการต่อมาคือ เรื่อง กระบวนการสืบค้น ซึ่งนักเรียนได้เรียนรู้หลายประการที่
          สามารถน�าไปปรับใช้ในการเรียนรู้เรื่องอื่นๆ ได้ ดังนี้
                                               ื
                 ๑. ผู้คนท่จะไปถามน้นเป็นเร่องสาคัญ เร่องราวในอดีตก็ต้องไปถามผู้ท่มีอายุมาก
                                                                      ี
                                         �
                                      ื
                        ี
                                ั
          แล้ว และอยู่ประจ�าที่ ไม่ได้ย้ายมาจากที่อื่น
                 ๒. ข้อมูลจ�านวนมากจ�าเป็นต้องมีการบันทึกสิ่งที่ได้ยินได้ฟังเก็บไว้ เพราะอาศัย
          เพียงการจดจ�าในสมองก็ไม่เพียงพอและมีข้อจ�ากัด อาจลืมได้ง่าย
                 ๓. การสัมภาษณ์ ต้องเข้าใจว่าบางทีผู้ให้ข้อมูลก็อาจมีทักษะการเล่าเรื่องไม่ดีนัก
                                                               ี
                                                    ื
                                         �
          ผู้สัมภาษณ์จาเป็นต้องซักถามต่อด้วยชุดคาถามต่างๆ เพ่อให้ได้ข้อมูลท่กระจ่างชัดเพียงพอ
                   �
          ส�าหรับการตีความและหาค�าตอบเบื้องต้นได้




   160
   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167