Page 186 - 80 เล่ม ที่ครูภาษาไทยควรอ่าน
P. 186
๑๗๑
๐
ตัวอย่างเช่น “ท าไมโบราณเรียกคนออกลุกว่าหมอต าแย เป็นเพราะ
เหตุใด หรือไปเกี่ยวอะไรกับใบต าแยขนยุ่บแสนคันด้วยหรือเปล่า
จ าได้แม่นว่ายายสวาดยิ้มแฉ่ง ให้ค าตอบชัดเจนว่า ฉันไม่รู้ กลับมา
่
ถามพอ อาจารย์ล้อม เพงแก้ว สารานุกรมภาษาวรรณคดีและ
็
ส านวนไทยประจ าชีวิตลูกว่า เป็นเพราะอะไรถึงโบราณไทยถึงเรียก
่
หมออกลูกว่าหมอต าแย พอบอกว่าคงไม่ใช่ เพราะหมอต าแยใน
ภาษาใต้ออกสียงขึ้นนาสิกว่า “ต าแหย้” ต่างจากใบต าแยภาษาใต้ที่
ออกเสียงไม่ขึ้นนาสิกว่า “ต าแย”นี่เป็นข้อบ่งชี้ชัดว่า หมอต าแยและ
ใบต าแย ไม่ใช่ค าเดียวกัน ” เป็นต้น
เรื่องเล่าที่ผ่านกาลเวลามานานมักจะมีเสน่ห์เสมอ ยิ่งเป็น
เรื่องเล่าเกี่ยวกับรากเหง้า ความเป็นอยู่ของผู้คน วัฒนธรรม
ประเพณี ความรู้และภูมิปัญญาของวันวารซึ่งมีมาแต่โบร่ าโบราณ
เรื่องเล่านี้บางเรื่องช่วยให้เราเห็นรากและแก่นแกนของชีวิตว่าเรา
นั้นมีที่มาที่ไปอย่างไร และควรจะเป็นไปอย่างไรในวันข้างหน้า
ี
จารึกของแผ่นดิน เล่มนี้จะท าให้ผู้อานพบว่า โลกนี้มีรายละเอยด
่
แม้จะเป็นเรื่องเล็กน้อยแต่ก็มีคุณค่าให้น่าค้นหามากมายยิ่ง เพราะมี
เนื้อหาความรู้อย่างครบครัน ครอบคลุมความรู้ศาสตร์ทุกแขนง ทั้ง
ยังเป็นตัวอย่างของการเขียนสารคดีที่ดี มีการหาความรู้ การอางอง
้
ิ