Page 189 - 80 เล่ม ที่ครูภาษาไทยควรอ่าน
P. 189
๑๗๔
๑. น.ม.ส. กับวรรณคดีสันสกฤต ๐
๒. อลังการในบทพระนิพนธ์ของพระราชวรวงศ์เธอ
๓. ปัญหาเรื่องแนวคิดและศิลปะในสามกรุง
มีวรรณคดีหลายเรื่องที่เราต่างรู้จักกันดี อาทิ กนกนคร
พระนลค าฉันท์ นิทานเวตาล และสามกรุงผลงานชิ้นยิ่งใหญ่ชิ้น
สุดท้ายของพระองค์ ซึ่งล้วนดีเด่นในเรื่องเนื้อหา และลีลาการ
ั
ั
ประพนธ์อนหาตัวจับได้ยาก ทั้งนี้ยังมีประเด็นที่น่าสนใจคือ
นามแฝง หรือนามปากกา น.ม.ส. ไม่ว่าจะเป็นนิพนธ์ร้อยแก้วหรือ
ร้อยกรองก็ทรงใช้นามแฝงนี้ทั้งสิ้น โดยนามแฝงมีที่มาจากอกษรตัว
ั
หลังของพระนาม รัช นี แจ่ม จรัส พระองค์เป็นกวีที่ไม่เลียนแบบ
ของเก่า ทุกผลงานของพระองค์มีส านวนโวหารและภาษาในแบบ
ของพระองค์เอง ที่มีชีวิตชีวาผสมปนรสหรรษาอยู่เสมอ
นอกจากงานนิพนธ์หนังสือหรือวรรณคดีแล้วยังทรงท า
ิ
์
หนังสือพมพ ซึ่งเกิดจากกิจกรรมยามว่างของพระองค์ เมื่อเขียน
์
ิ
ิ
มาก ๆ เข้าจึงจัดพมพเป็นเล่ม เพราะเหตุนี้จึงเกิดหนังสือพมพราย
์
สัปดาห์ “ประมวญมารค” จัดท าขึ้นเพอความสนุกขบขัน ทั้งการ
ื่
แต่งเรื่องเอง และแปลเรื่องจากต่างประเทศ แต่มีสารประโยชน์กับ
ความรู้ใหม่ ๆ ต่อมามี “ประมวญสาร” ออกตามมาอกฉบับหนึ่งซึ่ง
ี
เป็นรายสัปดาห์เช่นเดียวกัน เป็นหนังสือพมพแนวบันเทิงเริงรมย์
ิ
์