Page 193 - 80 เล่ม ที่ครูภาษาไทยควรอ่าน
P. 193
๑๗๘
๐
นักวิชาการหลากหลายท่านยังนิยมหนังสือเล่มนี้ใช้ในการ
ิ
อ้างองความเป็นไปเป็นมาทางด้านวรรณกรรมที่มีความเชื่อเกี่ยวกับ
้
เทพเป็นส่วนใหญ่ โดยอางองเกี่ยวกับชื่อเรียกของเทพยดา ซึ่ง
ิ
สามารถมีแนวอธิบาย และบรรยายว่า เพราะเหตุใดจึงท าให้เทพ
พระองค์นั้นนิยมใช้เรียกแบบนั้น มีเครื่องประดับ อาภรณ์
เครื่องนุ่งห่ม รวมไปถึงอาวุธ และพาหนะ ที่แตกต่างกันออกไป ไม่
เพยงเท่านี้ ยังบอกถึงปางของแต่ละองค์ที่สามาค้นพบได้อาจต ารา
ี
เอกสารโบราณต่างๆที่บอกถึงลักษณะนิสัย รวมถึงเพศ ของร่างใน
แต่ละปางได้อกด้วย อย่างเช่น พระอศวร ที่เป็นตัวเอกหรือตัว
ี
ิ
ส าคัญในวรรณคดีบางเรื่อง เช่น ลิลิตแช่งน้ าพพฒน์สัจจาของ
ิ
ั
โบราณก็มีกล่าวถึงตอนหนึ่งว่า “โอม ปรเมศวราย ผายผาหลวง
อะคร้าว ท้าวเสด็จเหนือวัวเผือก เอาเงือกเกี้ยวข้าง อางทัดจันทร์
้
ิ
เป็นปิ่น ทรงอนทรชฎา สามตาพระแพร่ง แกว่งเพชรกล้าฆ่าพ ิ
ฆนจัญไจ...” ในลิลิตโองการแช่งน้ า ได้กล่าวไว้ค่อนข้างละเอยด
ี
พิสดาร บอกลักษณะของพระอศวรว่ามีสามตา มีจันทร์เป็นปิ่น ทรง
ิ
วัวเป็นพาหนะ เอางูมาเป็นสังวาล โดยที่กล่าวมาในข้างต้นท าให้
ผู้อานในขณะนี้เกิดภาพในจินตนาการว่า พระอศวร คงเป็นผู้ชายที่
่
ิ
ร่างกายก าย า แข็งแรง แกร่งกร้าว หรือเป็นผู้ที่หน้าแกรงขามผู้หนึ่ง
แต่กลับมิเป็นเช่นนั้น ในปางที่ชื่อว่า ปัญจานนะ หรือ ปัญจมุขี ว่ามี
๕ หน้า ปางนี้บางทีเขียนเป็นรูปพระอิศวรมี ๔ หน้าอย่างพระพรหม