Page 10 - คำให้การชาวกรุงสยามใหม่
P. 10
ี
ตงฉินมาจากปู่ ย่าและพ่อหรือแม้แต่ตา ท่เป็นคนตรงไปตรงมา มีเมตตา
และซื่อสัตย์
�
�
กล่าวสาหรับอิทธิพลของฝ่ายตาน้น พิภพให้ความสาคัญกับ
ั
ประวัติโรงเรียนราษฎร์ปาโมกข์วิทยศึกษาซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมเล็กๆ แห่ง
�
ื
ั
ึ
ี
หน่งท่ก่อต้งโดยธรรมการอาเภอบ้านนอกช่อครูสมบุญ ตระกูลแสง ในปี
ึ
๒๔๗๕ โดยยกประวัติการก่อต้งโรงเรียนราษฎร์แห่งน้ข้นเทียบเคียงกับ
ี
ั
การอภิวัฒน์สยาม ๒๔๗๕ ของคณะราษฎรซึ่งเป็นกลุ่มคณะนักเรียนนอก
�
ั
็
ี
ั
ื
ี
์
็
ความสาคญของโรงเรยนราษฎร์ปาโมกขฯ กคอ เปนโรงเรยนระดบ
ชั้นมัธยมแห่งแรกของอ�าเภอป่าโมก เพราะทั้งอ�าเภอนี้ มีโรงเรียนชั้นสูงสุด
เพียงแค่ประถม ๔ แม้แต่รัฐบาลสยามยุคก่อน ๒๔๗๕ ก็ยังไม่มีปัญญาตั้ง
โรงเรียนหลวงระดับมัธยมในอาเภอน้ แต่ครูสมบุญ ตระกูลแสง ราษฎร
ี
�
สามัญคนหน่งซ่งก่อการคล้ายคณะราษฎร คือยอมสละเงินเดือนและ
ึ
ึ
�
ตาแหน่งธรรมการอาเภอป่าโมกออกมาคิดการใหญ่ใช้ทุนตนเองจนหมด
�
เนื้อหมดตัว เพื่อขยายการศึกษาของอ�าเภอถึงระดับมัธยม ดังชื่อโรงเรียน
ั
ั
้
ของท่าน แม้จะเป็นโรงเรยนเลกๆ แต่ก็ตงชออย่างมีความหมายสาคญว่า
�
ื
่
็
ี
“โรงเรียนอันเป็นแหล่งให้การศึกษาเรียนรู้อย่างยิ่งใหญ่แก่ราษฎร”
ก่อน ๒๔๗๕ อย่าว่าแต่อ�าเภอป่าโมก จะไม่มีโรงเรียนหลวงระดับ
ั
มัธยมเลย แม้ท้งสยามประเทศเองในเวลาน้นก็มีมหาวิทยาลัยท่เรียนใน
ั
ี
ึ
่
ุ
ึ
ี
ระดับอดมศกษาเพยงแห่งเดยว ซงหากไม่มการก่อการของคณะราษฎรแล้ว
ี
ี
ี
ก็ไม่ทราบว่าอีกนานเท่าไรประเทศไทยจึงจะมีมหาวิทยาลัยแห่งท่ ๒
เกิดขึ้น แต่ที่แน่ก็คือ โรงเรียนราษฎร์ปาโมกข์ฯ ของครูสมบุญ ตระกูลแสง
ได้บรรลุหลัก ๖ ประการ ของคณะราษฎรถือหลักที่ ๖ คือ “จะต้องให้การ
ั
้
ี
ศึกษาอย่างเต็มท่แก่ราษฎร” ในขณะทคณะราษฎรเอง กว่าจะก่อตง
่
ี
มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (มธก.) ได้ส�าเร็จ ก็ต้องใช้เวลา
10 l ป�ฐกถ�มูลนิธิโกมลคีมทอง ประจำ�ปี ๒๕๖๒ ครั้งที่ ๔๕