Page 15 - คำให้การชาวกรุงสยามใหม่
P. 15
ิ
ั
�
พิภพเร่มฉายแววเป็นนักคิดนักการศึกษาช้นนา มาต้งแต่ตอน
ั
ิ
�
เป็นนักศึกษาครู โดยในปี ๒๕๑๒ เขาได้ริเร่มทาวารสาร ปาจารยสาร
ภายใต้หัวหนังสือของวิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร (ปัจจุบันคือ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) อย่างเป็นทางการ ชื่อวารสารนี้ อาจารย์
ั
สุลักษณ์ ศิวรักษ์ เป็นผู้ต้งให้หมายถึง “สารจากจอมอาจารย์” หรือ
่
ิ
ื
่
ื
“สารจากอาจารย์ใหญ่” แต่เนองจาก ปาจารยสาร สอสารความคด
้
ึ
ั
ึ
ื
ทางการศกษาท่นอกกรอบระบบการศกษาในเวลานนมาก เมอจบการศกษา
ี
่
ึ
�
จึงนาหัวหนังสือมาสังกัดมูลนิธิเสฐียรโกเศศ-นาคะประทีป ของอาจารย์
สุลักษณ์ต่อมา จึงกล่าวได้ว่า
ปาจารยสาร เป็นมรดกของพิภพ ธงไชย ท่ตกทอดมายาวนาน
ี
จนถึงวันนี้
จนปี ๒๕๑๗ นายพิภพส่งไม้ต่อมายังสาราณียกรปาจารยสารรุ่น
ี
ท่ ๒ คือตัวผมเอง ซ่งก่อนหน้าน้ผมได้ช่วยแปลงานคิดของนักการศึกษา
ึ
ี
ี
ท่ก้าวหน้าให้ ปาจารยสาร เช่น ความคิดของจอห์น โฮลท์
เอ. เอส. นีล กฤษณมูรติ และ จูเลียส ไนเรอร์ ประธานาธิบดีแทนซาเนีย
ิ
ั
ั
้
ทเสนอการจดระบบการศกษาแบบสงคมนยมแอฟรกน เป็นต้น ตอนนน
ั
ิ
ั
ึ
ี
่
พิภพออกไปเขียนคอลัมน์การศึกษาและเป็นหัวหน้ากองบรรณาธิการให้กับ
ั
�
หนังสือพิมพ์ จตุรัส ของพันศักด์ วิญญรัตน์ นักหนังสือพิมพ์ช้นนาใน
ิ
ื
ขณะน้น พันศักด์ฟันธงเลยว่า เร่องความคิดใหม่ทางการศึกษาต้องยกให้
ิ
ั
พิภพ ธงไชย
ึ
ึ
�
ยังมีหนังสือสาคัญทางการศึกษาอีกเล่มหน่ง ซ่งพิภพรับเป็น
ิ
ู
บรรณาธการบรหาร คอนตยสาร ข่าวครไทย ของสมาพนธ์ครประถม
ิ
ั
ู
ิ
ื
ศึกษาแห่งประเทศไทย ตามค�าชักชวนของนายสุชน ชาลี เครือแกนน�าครู
ี
ั
ในยุคน้น บรรณาธิการพิภพ ธงไชย ได้เปล่ยนโฉมหน้า ข่าวครูไทย
คำ�ให้ก�รช�วกรุงสย�มใหม่ l 15