Page 14 - คำให้การชาวกรุงสยามใหม่
P. 14
ท้องถิ่น ผมจึงไม่ใช้ค�าว่า ‘เหล้าเถื่อน’ กับกรณีของย่าหรือชาวบ้านคน
ื
ู
�
่
ื
อนๆ ย่าจะร้ตวหรอไม่ว่าการกระทาของย่าอยู่ในสายธารของการต่อส้ ู
ั
ของชาวนาไทย ต่อการผูกขาดการต้มเหล้าระดับประเทศ มาจนถึง
ี
ื
ี
ทุกวันน้การผูกขาดต้มเหล้ากับการกว้านซ้อท่ดินไปกองไว้กับคนคนเดียว
ใครถูกใครผิด”
แต่บุคคลท่ทาให้พิภพนาตาซึมทุกคร้งเม่อระลึกถึงท่าน ก็คือพ่อ
้
�
ั
ื
ี
�
สวน ธงไชย ต�ารวจบ้านนอกที่ลูกชายจดจ�าฝังใจว่า “พ่อเลือกความตาย
เพื่อปกป้องสัจจะ” พิภพก�าพร้าพ่อเมื่ออายุเพียง ๙ ขวบ แต่เขาก็ภูมิใจที่
ี
ทุกคนท่รู้จักพ่อสวน ล้วนบอกกับเขาว่า “พ่อเป็นคนดีมากและรักสัจจะ
วาจาเป็นยิ่ง”
้
่
็
ี
ุ
ิ
ู
ั
ื
้
ี
้
ึ
่
ซงคณสมบตนไดสบทอดมายงลกชายคนโตโดยตรง ดวยเหตทเปน
ุ
ั
นักสู้ผู้ถือสัจจะ พิภพ ธงไชยจึงยอมตกเป็นเชลยของสังคมสยามยุคใหม่ใน
วันนี้โดยไม่ปริปากบ่นท้อต่อชะตากรรมสักค�าเดียว
วิถีนักการศึกษาทางเลือกและวิถีนักรบอยู่บนเส้นทางเดียวกัน
ด้วยภูมิหลังดังกล่าว พิภพจึงเลือกเส้นทางชีวิตเป็นนักการศึกษา
แบบตา แต่ไม่ทิ้งความเป็นนักรบในวิถีชาวนาจนของปู่ย่า พิภพแสดงแวว
�
ความเป็นผู้นาทากิจกรรมมาต้งแต่ปี ๒๕๑๐ โดยเป็นนายกองค์การ
ั
�
นักศึกษาวิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (ปัจจุบันคือมหาวิทยาลัย
ี
ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา) และช่วงท่เป็นนักศึกษาวิทยาลัยครูบ้าน
สมเด็จฯ ในวัย ๒๑ ปี เขาได้รู้จักกับ ส. ศิวรักษ์ปัญญาชนสยามในวัย ๓๔
ื
ั
�
เป็นคร้งแรก โดยการแนะนาของนายนิรันดร์ ประดิษฐ์กุล เร่องราวระหว่าง
พิภพ ธงไชยกับ ส. ศิวรักษ์นั้น เขาตั้งใจจะเขียนต่อไปในชื่อเรื่อง เดินทาง
ไปกับ ส. ศิวรักษ์ จากพ.ศ. ๒๕๐๙ ถึงปัจจุบัน
14 l ป�ฐกถ�มูลนิธิโกมลคีมทอง ประจำ�ปี ๒๕๖๒ ครั้งที่ ๔๕