Page 17 - คำให้การชาวกรุงสยามใหม่
P. 17

�
                  ความสุข การปกครองตนเอง จากรูปแบบโรงเรียนซัมเมอร์ฮิล แล้วนาความ
                                     ิ
                  คิดพุทธศาสนามาปรับส่งแวดล้อมและกระบวนการเรียนรู้ ใช้แนวคิดการ
                                                                     ุ
                                                                     ่
                                                                    ่
                                                                        ็
                   �
                                                   ู
                                                    ู
                                                                    ี
                                      ิ
                                                 ุ
                  ทาเกษตรกรรมธรรมชาตของมาซาโนบ ฟกโอกะ ชาวนาเซนญปนเปนฐาน
                                                               ั
                  ผลิตอาหารในชุมชนอันเป็นการกลับไปหาวิถีชาวนาด้งเดิมในการผลิต
                                  ี
                  อาหารธรรมชาติเล้ยงตนเอง และนวัตกรรมล่าสุดเขาได้พัฒนาการใช้
                  แสงแดดเป็นพลังงานในชุมชนของมูลนิธิเด็กและหมู่บ้านเด็ก ความมุ่งหมาย
                  ขั้นต่อไปของพิภพ ธงไชย ก็คือ
                         “เราจะปักธงให้หมู่บ้านเด็กเป็นศูนย์พัฒนากระบวนการเรียนร ู้
                  ทางการศึกษาระดับอาเซียน  จากเด็กถึงผู้ใหญ่  เม่อมาร่วมกับ
                                                                  ื
                  มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมีรากความคิดพุทธศาสนาเป็นฐาน”
                         คนภายนอกส่วนใหญ่คงไม่เข้าใจบทบาทของ พิภพ ธงไชย ไม่เข้าใจ
                                                          �
                                        ื
                  ว่า นักการศึกษาทางเลือกเพ่อเด็กยากไร้ กับแกนนาขบวนการทางการเมือง
                  ภาคประชาชน กลายมาเป็น “คน” คนเดียวกันได้อย่างไร แม้แต่แม่แอ๊ว

                  เองก็ยังแปลกใจว่า ท�าไมพ่อเปี๊ยกของเด็กๆ จึงคิดว่าตนเองเป็น “เชลย”
                  แต่ส�าหรับพิภพ ธงไชย เขาไม่เคยสับสนในบทบาทของตนเองเลย เพราะ
                  สาหรับเขา วิถีครู วิถีนักการศึกษา วิถีชาวนา และวิถีนักรบ เป็นวิถ ี
                   �
                  เดียวกัน

                         มีหนังสือเล่มหนึ่ง ซึ่งอาจารย์สุลักษณ์ เคยมอบให้ พิภพ ธงไชย
                  คือ Pedagogy of the Oppressed หรือ การศึกษาของผู้ถูกกดขี่ เขียน
                  โดยบาทหลวงนักการศึกษา ชาวบราซิล ช่อเปาโล เฟรเร (PAULO FREIRE)
                                                   ื
                  วันนี้เราทั้งหลายจะได้รับโอกาสฟัง ค�าอุทธรณ์ของเชลยชาวสยามคนหนึ่ง

                  ต่อผู้ปกครองที่แปลกหน้าส�าหรับเขา
                         ณ บัดนี้ ขอเรียนเชิญแม่แอ๊ว ครูรัชนี ธงไชย แสดงปาฐกถาแทน
                  คู่ชีวิตของเธอ คือพ่อเปี๊ยก พิภพ ธงไชย ในหัวข้อ “คาให้การชาวกรุงสยาม
                                                           �
                  ใหม่”
                                                     คำ�ให้ก�รช�วกรุงสย�มใหม่  l   17
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22