Page 242 - แผน เล่มที่ 1 R&D
P. 242
238
5. สาระการเรียนร ู้
การดูแลรักษาข้อต่อให้ท างานอย่างมีประสิทธิภาพ
ิ
6. การจัดกจกรรมการเรียนร ู้
6.1 ขั้นที่ 1 ขั้นน า (Orientation : O)
1) นักเรียนและครูร่วมกันพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับวิธีการที่ช่วยบ ารุงรักษาข้อต่อให้
ท างานอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น
- รับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง
- ออกก าลังกายแบบลงน้ าหนัก
ุ
- หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดโรคเกี่ยวกับกระดูก ได้แก่ การสูบบหรี่
ี่
การดื่มสุรา และการดื่มเครื่องดื่มทผสมคาแฟอีน
2) นักเรียนพูดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูแลรักษาข้อต่อให้ทางานอย่างมี
ประสิทธิภาพมีอะไรบ้าง เช่น
- หลีกเลี่ยงท่าทางที่ไม่เหมาะสม
- ไม่เอี้ยวตัวหรือบิดข้อต่อโดยแรง
- พยายามรักษาน้ าหนักตัวไม่ให้อ้วน
3) นักเรียนรับทราบจุดประสงค์การเรียนรู้ เรื่อง การดูแลรักษาข้อต่อให้ทางาน
อย่างมีประสิทธิภาพ จากครู
์
4) นักเรียนรับทราบถึงวิธีการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการสร้างองคความรู้ด้วยตนเอง
และรับทราบถึงบทบาทหน้าที่ของสมาชิกกลุ่ม จากครู
5) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปราย จุดมุ่งหมาย ความหมายและความส าคัญ
ของสิ่งที่ได้เรียนรู้จากเรื่อง การดูแลรักษาข้อต่อให้ท างานอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 ขั้นที่ 2 ขั้นแสดงความคิด (Elicitation : E)
6) นักเรียนและครูสนทนาเกี่ยวกับความรู้เดิมที่ได้เรียนในชั่วโมงที่แล้ว และร่วมกัน
อภิปราย แนวคิด ค าตอบ เพื่อเชื่อมโยงความรู้เดมไปสู่ความรู้เรื่อง การดูแลรักษาข้อต่อให้ทางาน
ิ
อย่างมีประสิทธิภาพ
7) นักเรียนรับชุดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ี่
ึ
ุ
เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศกษาปีท 4 รายวิชาสขศกษา
ึ
ชุดที่ 3 ระบบกระดูกและข้อต่อ จากครู
8) นักเรียนรับฟังแนวทางการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้จากครูเพื่อให้
นักเรียนทราบว่า นักเรียนควรจะศึกษาเรื่องนี้ให้ละเอียดก่อนการเรียนรู้ เพื่อเป็นแนวทางในการ
เรียนรู้ในชั่วโมงที่จะเรียนต่อไปนี้
9) นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 - 5 คน โดยคละความสามารถ เก่ง กลาง อ่อน
และให้แตละกลุ่มเลือกหัวหน้า และเลขานุการกลม
่
ุ่
ุ
10) นักเรียนทุกกลุ่มอ่านใบค าชี้แจง ชดที่ 3 ระบบกระดูกและข้อต่อ ให้เข้าใจ
ก่อนการเรียนรู้