Page 76 - คู่มือเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง real 7_7_2018
P. 76
ื่
้
ั
ื้
้
อาหาร ลอยตว ว่ายน้้าหงายท้อง เมื่อเป็นมาก ๆ ปลาจะมีเชออนเขาแทรกซอนใ น
ภายหลังท้าให้รักษายากขึ้น
1.2 การจากปรสิตเข้าเกาะตัวปลาจะมีเมือกมาก มีแผลตามล้าตัว ตกเลอด
ื
้
ครีบเปื่อย จุดสีขาวตามล้าตัว สีตามล้าตัวซีดหรือเข้มผิดปกติเหงือกซีด ว่ายน้้าลาบาก
ทุรนทุราย ควงสว่านหรือไม่ตรงทิศทาง พบมากในปลาดุก มักติดเชื้อราตามมาด้วย ริม
ฝีปากกับหนวดจะเป็นสีขาว
1.3 อาการจากอาหารมีคุณภาพไม่เหมาะสม คือขาดวิตามินซี กะโหลกร้าว
บริเวณใต้คางจะมีการตกเลือด ตัวคด กินอาหารน้อยลง ถ้าขาดวิตามินบีปลาจะว่ายน้้า
่
ู
ี่
ตัวเกร็งและชักกระตุก ในสวนของปลาทเลยงบนพนทสงจะไม่พบอาการเชนนี้
ื้
ี่
่
ี้
เนื่องจากอาหารที่ได้รับเป็นอาหารธรรมชาติ ที่เป็นตัวอ่อนแมลงน้้า
1.4 อาการจากคุณภาพน้้าในบ่อดิน ไม่ดี ปลาจะว่ายน้้าขึ้นลงเรวกวาปกต ิ
็
่
ลอยหัวครีบกร่อนเปื่อย เหงือกซีดและบวม ล้าตัวซีด ไม่กนอาหาร ทองบวม มีแผล
้
ิ
ตามตัว ในการรักษาโรคปลาควรจะได้พจารณาใหรอบคอบกอนการตดสนในการ
้
ิ
ิ
ั
่
เลือกใช้ยาหรือสารเคมี สาเหตุของโรค ระยะรักษา ค่าใช้จ่ายในการรักษา ซึ่งส่วนใหญ่
ไม่จ้าเป็นต้องใช้ยารักษา
ิ
ั
ี้
1.5 การป้องกันโรค การเกดโรคของปลาทเลยงมักจะเกดจากปญหา
ิ
ี่
คุณภาพของน้้าในบ่อเลี้ยงไม่ดี ซึ่งอาจเกิดจากสาเหตุของการให้อาหารมากเกิน ไปจน
ั
่
อาหารเหลือเน่าเสีย เราสามารถป้องกัน ไม่ให้เกิดโรคได้โดยตองหมั่นสงเกตวาเมื่อ
้
ี่
หยุดกินอาหารจะต้องหยุดให้อาหารทันที ในปลาดุกลูกผสมมีนิสัยชอบกินอาหารทให ้
้
ใหม่โดยถึงแม้จะกินอิ่มแล้วถ้าให้อาหารใหม่อีก ก็จะคายหรือส้ารอกอาหารเก่าทิ้งแลว
กินอาหารที่ให้ใหม่อีก ท้าให้น้าเสียเร็ว ซึ่งปริมาณอาหารที่ให้ไม่ควรเกิน 4-5 % ของ
น้้าหนักตัวปลา
2. วิธีป้องกันการเกิดโรค
2.1 ควรเตรียมบ่อและน้้าตามวิธีการที่เหมาะสมประมาณ 60 เซนตเมตร
ิ
ก่อนปล่อยลูกปลา แล้วค่อยเพิ่มน้้าสูงขึ้น
2.2 ซื้อพันธุ์ปลาจากแหล่งที่เชื่อถือได้ หรือการผลิตลูกปลามาเลี้ยงเอง หรือ
การเลือกซื้อจากลูกปลาที่ผลิตเองบนพื้นที่สูง และต้องแข็งแรงและปราศจากโรค
72 การเพาะเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง