Page 101 - เมืองลับแล(ง)
P. 101
ุ
ื่
ิ
(๒) พระราชพงศาวดารกรงเก่า ฉบับหลวงประเสรฐฯ ได้ระบุชอเมืองชากังราวไว้เมื่อ พ.ศ.
๑๙๙๔ ดังว่า “ศักราช ๘๑๓ มะแมศก ครั้งนั้นมหาราช มาเอาเมืองชากังราวได้แล้วจึงเอาเมือง
85
ื้
สุกโขไทย เข้าปล้นเมืองมิได้ก็เลิกทัพกลับไป” เมื่อตรวจสอบกับ ตำนานพนเมืองเชียงใหม่ พบว่า
้
ิ
ั้
ในปีรวงเม็ด พ.ศ. ๑๙๙๔ พระญาตโลกราชยกทัพมาทางเมืองทุ่งยง - เมืองฝาง - เมืองสองแคว -
ี
เมืองปากยม - แล้วเสด็จกลับเมืองเชยงใหม่ แสดงว่าพระญาติโลกราชยกทัพผ่านลงมาทาง
86
แม่น้ำน่านตลอด ซึ่งไม่ผ่านเมืองกำแพงเพชรเลย จนเมื่อ พ.ศ. ๒๐๐๔ พระญาเชลียงจึงชวนพระ
ี
ี
้
ื้
ญาติโลกราชยกทัพไปตเมืองกำแพงเพชร ซึ่งใน ตำนานพนเมืองเชยงใหม่ ไดออกชื่อเมืองกำแพงเพชร
ว่า “เมืองปางพล / ปลางพล” ตรงกับใน พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐฯ บอกว่า
87
ั
ิ
“ศกราช ๘๒๓ มะเส็งศก พญาชเลียงนำมหาราชมาเอาเมืองพษณุโลกเข้าปล้นเมืองเป็นสามารถมิได ้
เมือง แลจึงยกทัพเปรอไปเอาเมืองกำแพงเพชรแลเข้าปล้นเมืองถึง ๗ วันมิได้เมือง แลมหาราชก็เลิก
ทัพคืนไปเชียงใหม่” 88
จากข้อมูลในหลักฐานของทั้ง ๒ ฝ่าย ชี้ชัดว่าเมืองชากังราวไม่ใช่เมืองกำแพงเพชร และเมือง
กำแพงเพชรมีชื่อในเอกสารล้านนาว่า “ปางพล” ไม่ใช่เมืองชากังราวอย่างแน่นอน
ิ
จากเหตุผลที่กลาวอ้างมาทั้งหมดทำให้ พเศษ เจียจันทร์พงษ์ เห็นว่าเมืองชากังราวควรตงอย ู่
่
ั้
บนที่ราบลุ่มแม่นำนาน ตอนใดตอนหนงระหว่างเมืองทุ่งยงถึงเมืองปากยม (พจิตร) แตเมื่อพจารณา
ึ่
ิ
ั้
่
ิ
่
้
่
ุ
่
เหตการณ์ที่พระญาผากอง เมืองนานลงมาชวยเมืองชากังราวรบกับฝ่ายอโยธยาเมื่อ พ.ศ. ๑๙๑๙
้
หลังจากที่เมืองสองแควตกอยใตอำนาจฝ่ายอโยธยาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. ๑๙๑๘ ดังนั้นเมืองชากังราวควร
ู่
ื้
ั้
อยระหว่างเมืองทุ่งยงกับเมืองสองแควมากกว่า และพนที่ระหว่างเมืองทุ่งยง – เมืองสองแคว จึงได้
ั้
ู่
89
สันนิษฐานว่า เมืองชากังราว = ชื่อเดิมของเมืองพิชัย
่
ิ
ิ
ุ
ั
้
แตจากบรบทการสรางเมืองพชยได้ถูกกล่าวไว้ใน พระราชพงศาวดารกรงเก่า ฉบับหลวง
90
ิ
ิ
ั
ประเสรฐฯ ว่า “ศกราช ๘๕๒ จอศก แรกให้ก่อกำแพงเมืองพไชย” คือ พ.ศ. ๒๐๓๓ หลังจากที่
ึ้
สมเด็จพระบรมไตรโลกนารถสวรรคตไป ๓ ปี การสร้างเมืองพชัยจึงเกิดขนบริเวณที่ราบลุ่มแม่นำน่าน
้
ิ
ิ
ในรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราช ที่ ๓ จากการพิจารณาสัณฐานของเมืองพชยเป็นเมืองที่มีลักษณะ
ั
85 กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, ๒๕๔๒. หน้า ๒๑๕.
86 ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับเชียงใหม่ ๗๐๐ ปี. หน้า ๖๕ – ๖๖.
87 ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับเชียงใหม่ ๗๐๐ ปี. หน้า ๗๑ – ๗๒.
88 กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, ๒๕๔๒. หน้า ๒๑๖.
89 พิเศษ เจียจันทร์พงษ์. หน้า ๑๘๗ และ ๑๙๐.
90 กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, ๒๕๔๒. หน้า ๒๑๘.
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๘๙