Page 96 - เมืองลับแล(ง)
P. 96

ประเด็นและข้อสังเกตเพิ่มเติม



               ประเด็น ๑ ข้อเท็จ – ข้อจริง


                       ปัจจุบันยงเชอถือกันโดยส่วนใหญ่ว่าชาวลับแล-เมืองลับแล มีที่มาจากเมืองเชยงแสน มี ๓
                                                                                              ี
                               ั
                                  ื่
               ทฤษฎี คือ
                                                                                               ้
                       ทฤษฎีที่ ๑ ของเจ้านายที่เสด็จมาในพนที่ลับแลสมัยรชกาลที่ ๕ คือ สมเด็จเจ้าฟาฯ กรมพระ
                                                                      ั
                                                         ื้
                                                                                                         ุ
               ยานริศรานุวัติวงศ์ ใน “จดหมายระยะทางไปพิษณุโลก” พ.ศ. ๒๔๔๔ ระบุว่า “ชาวบ้านนเปนลาวพง
                                                                                                ี้
                                                               ่
                                         ่
                                             ่
                    ็
               ดำเตมตัว แปลว่า สาดมาแตแพร แลนครลำปาง กับนาน” และ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
               ใน “เที่ยวตามทางรถไฟ” รวบรวมเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๔ บอกว่า

                               “เมืองลับแลไม่มีวัตถุโบราณอันใดให้แลเห็นเค้าเงื่อนว่าจะเป็นเมืองเก่า ใน
                             ี
                        ทำเนยบก็ว่าเป็นเมืองขึ้นของเมืองพิไชย แต่คงเป็นเมืองมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็น
                                        ื่
                        ราชธานี เพราะมีชอปรากฏในพงศาวดารสมัยเมื่อแรกตั้งกรุงธนบุรี เมื่อพิจารณาดู
                                                           ิ
                                                                                                ั้
                        ภูมิที่กับพวกชาวเมืองประกอบกับสันนษฐานว่า เมืองลับแลน เดิมเห็นจะเป็นที่ตง
                                                                               ี้
                                                                                      ้
                        ซ่อง คือ พวกชาวเมืองแพร เมืองนาน ที่หนข้าศก หรอความเดือดรอน ด้วยเหต      ุ
                                                        ่
                                                                    ึ
                                                                ี
                                                                         ื
                                                 ่
                                                                     ้
                                                                         ี
                                                   ั
                                                        ั้
                                                                             ู่
                        อยางอื่นพากันอพยพครอบครวมาตงซุ่มซ่อนหาเลียงชพอยในที่น ด้วยเป็นที่ป่าดง
                           ่
                                                                                  ี้
                        และอยู่ชายเขตแดนเมืองแพร่และเมืองพไชย ทั้ง ๒ ฝ่าย ครั้นนานมาผู้คนเห็นเป็นที่
                                                            ิ
                        หาเลียงชพได้สะดวก ก็อพยพพากันลงมาตงภูมิลำเนามากขึ้นทุกที จนถึงตงเป็น
                             ้
                                                                                            ั้
                                                               ั้
                                ี
                        เมืองขึ้นของเมืองพิไชย”

                                                                    ื่
                       จากการบันทึกของเจ้านายทั้ง ๒ พระองค์ ทำให้เชอกันว่า ชาวลับแลไดหนหรืออพยพมาจาก
                                                                                      ้
                                                                                         ี
                        ่
                                                             ู่
                               ่
               เมืองแพร เมืองนาน เมืองลำปาง ที่เป็นจังหวัดที่อยตอนบนมีเขตแดนติดกับจังหวัดอุตรดิตถ์อพยพมา
               อาศัยอยู่ในพนที่เมืองลับแล
                           ื้
                                                        ุ
                                                         ุ
                       ทฤษฎีที่ ๒ ของพระครสิมพลีคณานยต บอกว่า ชาวลับแลมีที่มาจาก “โยนกสิงหนวัตินคร
                                            ู
                                                           ิ
                                                                        ิ
                                                                                       ี้
               ไชยบุรีศรีเชียงแสน” อันมีเค้าโครงมาจากตำนานสิงหนวัตกุมาร [ตำนานนมีรากมาจาก คัมภีร          ์
                                     ื
                       ์
               มหาวงศ ของลังกา] หรอที่พระครสิมพลีคณานยต เรยกว่า “พงศาวดารภาคพายพ” ได้ทำการเรยบ
                                                             ิ
                                                                                         ั
                                                                                                       ี
                                              ู
                                                           ุ
                                                          ุ
                                                                ี
                                                                               ่
               เรยง “ประวัตเมืองลับแล” เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๓ จนเป็นที่เผยแพรอยางเป็นทางการของมโนทัศน           ์
                 ี
                                                                            ่
                             ิ
               ประวัติศาสตร์เมืองลับแล มีการผูกตำนานท้องถิ่นให้เข้ากับตำนานสิงหนวัติกุมาร
                                          เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
                                                        หน้า ๘๔
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101