Page 92 - เมืองลับแล(ง)
P. 92
ั
ั
มากกว่าผู้ชาย ผู้หญิงเกล้าผมสูง ผู้ชายตดผม บางคนตดอยางเก่าซึ่งเรยกว่า ผม
่
ี
้
่
มหาดไทย แตมีนอย อัธยาศยกิรยามารยาทก็เรยบรอย ดูเป็นคนมีอันจะกิน
ี
้
ั
ิ
โดยมาก โจรผู้ร้ายก็ไม่ค่อยมี นับว่าเป็นอำเภอที่สมบูรณ์ได้
ี้
และในปีน หลวงพศาลคีร (เที่ยง) นายอำเภอลับแล มณฑลพษณุโลก ได้รบพระราชทาน
ิ
ี
ิ
ั
70
นามสกุลว่า ‘รตะมาน’
พ.ศ. ๒๔๕๘ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ โปรดเกล้าให้เปลี่ยน
นามเมืองพิชัยเป็นเมืองอุตรดิตถ์ให้ตรงกับนามท้องที่ที่มีการตั้งเมือง ส่วนเมืองพิชัยมีฐานะเป็น
อำเภอเมืองพิชัย จนเมื่อ ๑๙พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๕๙ ได้โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนคำว่า “เมือง”
เป็น “จังหวัด” ดังนั้น “เมืองอุตรดิตถ์” จึงเป็น “จังหวัดอุตรดิตถ์” ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
วันที่ ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๖๔ พระศรีพนมมาศ (ทองอิน) ถึงแก่กรรม สิริอายุได้ ๖๐ ปี ได้รบ
ั
ั
พระราชทานเพลิงศพเมื่อวันที่ ๒๑ กุมภาพนธ์ พ.ศ. ๒๔๖๕ โดยมีพระยากัลยาณวัฒนวิศษฐ์ (เชยร
ี
ิ
์
กัลยาณมิตร) เป็นประธานในพิธี
ิ้
อนึ่ง ใน จารึกพบที่วัดม่อนปรางค์ ๔ ชน คือ
้
(๑) จารึกฐานพระพุทธรูป ได้ระบุนามผู้สร้างว่า “พระพุทธรูปองค์นี/พระพิศาลคีรี/คุณนาย
ผาด/กันได/ผู้สร้าง”
ิ้
(๒) แผงพระพิมพ์ ชนที่ (๑) จารึกนามผู้สร้างว่า “ศรัทธาคุณพระพิศาลนายอำเภอลับแล”
(๓) แผงพระพิมพ์ ชนที่ (๒) จารึกนามผู้สร้างว่า “ศรัทธาคุณนายผาดบ้านยางกันได”
ิ้
ึ
้
(๔) หนาบันกุฏิวัดม่อนปรางค์ จารกว่า “พระพิศาลคีรี/คุณนายพิศาล(ผาด)/บูรณะ
๒๔๖๔”
(๕) ไม้สลกเหนอกรอบบานประตูกุฏิวัดม่อนปรางค์ ระบุว่า “สมุห์อนประดิฐ พ.ศ. ๒๔๕๗ /
ิ
ื
ั
บริจาคสิ้น ๗๗๖ บาท ๓๒”
ี
้
ิ
ซึ่งเป็นไปไดว่า “พระพศาลคีรี” เป็นบุคคลเดียวกับ “พระศรพนมมาศ” (ทองอิน) ด้วยพระศร ี
่
พนมมาศมีภรรยาชอผาด ที่มีบ้านพกอยที่บ้านยางกะได แตผู้ทำการจารกอาจเกิดความสับสนใน
ึ
ื่
ู่
ั
ี
ิ
่
่
ี
ตำแหนงนายอำเภอเมืองลับแล (พระพศาลคีร) กับ ราชทินนามของท่าน (พระศรพนมมาศ ตำแหนง
ิ
ั้
เกษตรมณฑลพษณุโลก) ซึ่งสูงกว่า พระพศาลคีร อีกทั้งในการรบรของคนอำเภอลับแลในขณะนน
ิ
ี
ั
ู้
ี่
70 หลวงพิศาลครี (เทยง) นายอำเภอลับแล มณฑลพิศณุโลก ได้รับพระราชทานนามสกุล “รตะมาน
ี
ี่
(Ratamân)” ปู่ทวดชื่อนายรอด เมื่อวันท ๑๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๗ เป็นลำดับที่ ๑๖๒๔
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๘๐