Page 87 - เมืองลับแล(ง)
P. 87
เมื่อสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพเสด็จตรวจราชการเมืองมาถึงเมืองลบแล ใน วันที่ ๑
ั
63
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๕๑ (ร.ศ. ๑๒๗) กล่าวถึงภูมิทัศน์เมืองลับแลว่า
มีบ้านเรอนงามๆที่ทำขึ้นทางถนนไปเมืองลับแลทั้งสองฟากก็หลายบ้าน
ื
่
ั้
ั้
ส่วนที่เมืองลับแล แลทุ่งยงนนดูไรนามีมากแปลกตาขึ้นมาก เพราะมีคนดีประจำที่
ู่
อยคนหนง คือ หลวงศรีพนมมาศ (ทองอน) ผู้ที่เคยเสด็จไปบ้านเขานั้นเองเปนผู้
ึ่
ิ
เอาใจใส่ สนกในการทำเหมืองทำฝาย เลิกไรนา ไม่รหยด จนถึงพวกอินยนเนย
ี
ุ
ิ
ู้
่
ุ
(Engineer) รถไฟที่ไดขึ้นมาเห็น บอกแก่ข้าพระพทธเจ้าเมื่อขึ้นมาตามทางว่าเรามี
้
ุ
อินยิเนีย (Engineer) ดีอยู่ที่เมืองลับแลคนหนึ่งสำหรับเออริเลชั่น (Relation)
ุ
ิ
ี้
็
์
และในการเสดจตรวจราชการคราวน พบว่าวิหารเครื่องบนพระแท่นศลาอาสนชำรด จึงได้ให้
่
ื่
นำไม้สักในแขวงเมืองลับแล เมืองทุ่งยง ๑๕๐ ท่อน ทำการบูรณะเปลียนเครองบนจนแล้วเสรจ
็
ั้
สมบูรณ์
ั
ในวันที่ ๑๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๕๑ ได้โปรดเกล้าฯ ให้เลื่อน ‘หลวงศรีพนมมาศ’ (ทองอิน) รบ
พระราชทานบรรดาศกดิเป็น ‘พระศรีพนมมาศ’ ั ่ 64
ศกดินา ๑๐๐๐ ตำแหนง นายอำเภอเมืองพิชัย
ั
์
และผู้ช่วยผู้ว่าราชการเมืองพิไชย [เทียบตำแหน่งรองผู้ว่าราชการจังหวัดอุตรดิตถ์]
ื้
ั
ิ
และใน ประกาศยกเลิกหนงสือสำคัญเดิมสำหรบที่ดน พ.ศ. ๒๔๕๑ พบว่ามีการแบ่งพนที่ของ
ั
ั
เมืองด่านนางพนเดิมออกเป็น ๓ ตำบล คือ (๑) ตำบลห้วยใต้ (๒) ตำบลบ้านพนแหวน (๓) ตำบล
ู
แม่พูล ก่อนก่อนยบเหลือ เพยงตำบลเดียวอยางในปัจจุบัน และในเอกสารเดียวกันนทำให้ทราบว่า
ี
ี้
่
ุ
อำเภอลับแลในขณะนั้น ยงประกอบด้วย ตำบลบ้านด่านนาขาม ตำบลต้นม่วง ตำบลไชยจุมพล
ั
ตำบลนาโป่ง ตำบลน้ำท่วม ตำบลน้ำริด ตำบลไผ่ล้อม ตำบลยางกะได ตำบลบ้านคุ้ม ตำบล
65
ทุ่งยั้ง รวม ๑๓ ตำบล
63 สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. หน้า ๔๗๒-๔๗๓.
ี่
64 ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๒๕ หน้า ๕๘๕ วันท ๑๖ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๗. และ พระบรมราชโองการเลื่อน
หลวงศรีพนมมาศ เป็น พระศรีพนมมาศ นายอำเภอเมืองพิไชย
65 ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๒๕ หน้า ๑๒๐๓ วันที่ ๑๐ มกราคม ร.ศ. ๑๒๗.
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๗๕