Page 82 - เมืองลับแล(ง)
P. 82
เดิมขึ้นมาไว้ให้เปนที่สักการบูชาในเมืองลับแลนั้น
์
ั้
ครนกินเข้ากลางวันแล้วมีเทศนเรองพระแท่นศลาอาสน กัณฑ ๑ แล้วขึ้น
ิ
์
์
ื่
ชางพลายอินทรของเจ้านครเมืองแพร สูง ๕ ศอกเศษ ผูกสัปคับแมงดาเขียนทอง
้
่
ื่
้
เครองชางแลเหมาะหมอนล้วนแตทำอยางประณีต เจ้านายแลข้าราชการก็ขึ้นชาง
่
้
่
้
ี
้
ื่
้
ทั้งสิน ออกจากเขาจำศลเพอจะไปดูฝายตนนำ ระยะทางสัก ๕๐ เส้นเศษ อันการที่
ี
้
่
ทำฝายนนเขาก็ฉลาดทำมาก ใชแตหลักไม้สักเล็ก ๆ ปักเรยงตลอดขวางลำห้วยลง
ั้
ไปเปนชน ๆ ให้ลาดเขาลงไปคล้ายรปล็อกที่กั้นด้วยสิเมนแล้วขนาบด้วยไม้ไผ่ทั้งลำ
ั้
ู
กรุด้วยกิ่งไม้กรวดทราย ฝายนั้นกว้างกันน้ำอยู่ประมาณสัก ๖ วา ๗ วา น้ำข้างในสูง
ี้
กว่านอกฝาย ๔ ศอกเศษเกือน ๕ ศอก ถ้ามากก็ไหลข้ามฝายไป ฝายนว่าเปนฝาย
เล็ก ลำห้วยกว้างประมาณสัก ๗ วา ๘ วา ฝายใหญ่ ๆ ยงมีอีกหลายแห่ง แต ่
ั
ี้
ระยะห่างไกล เวลาไม่พอจะไปดู ในเมืองลับแลนมีประมาณสัก ๓๐ ฝาย
กลับโดยทางเดิมมาจนถึงแยกถนนศรีพนม จึงได้เลี้ยวไปตามถนนศรี
้
พนม ถนนนีไปในหว่างท้องนาแลสวน จนสิ้นเขตรเมืองลับแล ก็พอเข้าป่าเปน
แขวงเมืองทุ่งยง ตงแตเข้าในป่านมาได้หนอยหนงถนนแขงเปนพช(=พด)ศลาแลงไป
ื
ิ
ื
่
่
ึ่
ั้
ั้
ี้
ั้
่
ิ
จนถึงพระแท่น ในบรเวณบึงพระแลเปนไม้ใหญ่ ๆ แลไม้พาย ตงแตบึงพระแล
ประมาณ ๒๐ เส้น ถึงเนินศิลาแลง ซึ่งเปนที่ตั้งพระแท่น...”
ู่
ั
จะเห็นได้ว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหัว รชกาลที่ ๕ ทรงเห็นความสำคัญของ
ิ
ี
้
เมืองลับแลอยางยง เพราะหลังจากหล่อพระพทธชนราช (จำลอง) เรยบรอยแล้ว ได้อัญเชญ “พระ
ุ
ิ่
ิ
่
เหลือ” มาประดิษฐานเป็นมิ่งขวัญที่เมืองลับแลด้วย โดยให้ประดิษฐานที่ม่อนจำศีล (ที่ตงของที่ว่าการ
ั้
ั
ิ
ั้
อำเภอลับแลขณะนน) ซึ่งปัจจุบันได้อัญเชญมารกษาไว้ที่วัดเสาหิน แล้วหล่อองค์พระเหลือจำลอง
ประดิษฐานที่ม่อนจำศีลไว้แทน
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๗๐