Page 93 - เมืองลับแล(ง)
P. 93
ึ
ึ
ี
่
ิ
ตำแหนงนายอำเภอลับแลคือ “พระพศาลคีร” จึงทำการจารกด้วยความเข้าใจของตนเองเมื่อจารกถึง
ท่าน
ภายหลังวันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๕ ซึ่งเป็นวันสถาปนากระทรวงมหาดไทยแล้ว ทำให้เห็น
้
ึ
้
ว่ามีการใชราชทินนามของเจ้าเมืองหรือผู้ว่าราชการเมือง ทับซ้อนโยกไปไม่ยดโยงกับการใชราชทินนาม
ตำแหน่งที่เคยมีมาแต่ก่อน เหมือนดังเดิม เช่น
(๑) ตำแหน่ง “พิศาลคีรี” เดิมเป็นตำแหนงผู้ว่าราชการเมืองลับแล แล้วยังถูกใชเป็น ตำแหนง
้
่
่
์
ิ
ี
ี
ื
ิ
ิ
นายอำเภอลับแล คือ ‘พระพศาลคีร หรอ พระยาพศาลคีร (ทับ สุขะเนนย)’ และ ‘หลวงพศาลคีร ี
ี
ึ
้
ิ
์
(เที่ยง ระตะมาน) [ราชทินนามสุดท้ายเป็น “พระพศาลคีร” ตามจารกที่เจดียบรรจุอัฐิหนาวิหารพระ
์
แท่นศิลาอาสน]’
่
่
(๒) ตำแหนง “ศรีพนมมาศ” เดิมเป็นตำแหนงผู้ว่าราชการเมืองทุ่งยั้ง ขึ้นกับเมืองสวรรคโลก
ั
ั้
่
ู่
ั้
ิ
ตอมาเมื่อเมืองทุ่งยงถูกตดเขตให้อยในเขตการปกครองของเมืองพชย ทำให้เมืองสวรรคโลกได้ตง
ั
บริเวณบ้านเขาทอง (ทางทิศเหนือของเมืองบางขลัง ตลอดไปถึงหอรบทุ่งเสลี่ยม) เป็นเมืองศรีพนมมาศ
ื่
้
อีกเมืองหนง ทำให้เกิดความทับซ้อนของชอเมืองและสรางความสับสนให้ผู้ที่ศกษาเรองเมืองศรพนม
ื่
ึ
ี
ึ่
่
ี้
ี
ี
มาศ และคำว่า “ศรพนมมาศ” น ยงถูกใช้เป็น ตำแหนง นายอำเภอลับแล คือ ‘พระศรพนมมาศ (ทอง
ั
อิน แซ่ตัน - ดำรงราชทินนาม พระศรพนมมาศ ในฐานะนายอำเภอลับแลเพยงคนเดียว ภายหลังจาก
ี
ี
ยุคของท่านมีการใช้คำว่า “พิศาลคีรี” เป็นตำแหน่งของนายอำเภอลับแลดังเดิม)’
ลับแลในสมัยรัชกาลที่ ๗ (พ.ศ. ๒๔๖๙ – ๒๔๗๘)
พ.ศ. ๒๔๗๐ จังหวัดอุตรดิฐ แบ่งการปกครองเป็นเป็น ๖ อำเภอ ๕๘ ตำบล ซึ่งอำเภอลับแล
ตั้งที่ว่าการอำเภอที่ตำบลยางกะได มี ๑๓ ตำบล ดังน ี้
71
ั้
๑) ทุ่งยง ๒) ไผ่ล้อม ๓) บ้านคุ้ม ๔) ไชยจุมพล ๕) ยางกะได ๖) นาโป่ง ๗) ตำบลนำท่วม ๘)
้
่
ห้วยใต้ ๙) ต้นม่วง ๑๐) พันแหวน ๑๑) แม่พูล ๑๒) น้ำริด ๑๓) บ้านดาน(นาขาม)
71 ทำเนียบท้องที่ หัวเมือง กระทรวงมหาดไทย, พ.ศ. ๒๔๗๐. หน้า ๒๐๑.
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๘๑