Page 98 - เมืองลับแล(ง)
P. 98
ประเด็น ๓ เมืองชากังราว – เมืองซาก และเมืองพิชัย
ในปัจจุบันการเขียนประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่มักจะอ้างว่าเมืองชากังราวคือเมืองกำแพงเพชร แต่
ิ
ึ
์
จากการศกษาของ พเศษ เจียจันทรพงษ์ ได้เสนอว่า เมืองชากังราวไม่ใช่เมืองกำแพงเพชรและ
75
ู่
ุ
เมืองชากังราวควรเป็นเมืองที่ตั้งอยในลุ่มแม่น้ำน่าน โดยมีเหตผลอ้างถึงในหลายประการ
กล่าวคือ
ชื่อของเมือง “ชากังราว” มีที่มาจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ได้แก่
(๑) จารึกหลักที่ ๘ เขาสุมนกูฏ ด้านที่ ๔ ในบรรทัดที่ ๔ - ๑๔ ระบุชื่อเมืองประกอบด้วย “...มี
ทั้งชาวสรลวงสองแฅว ปากยม พระบาง ชากนราว สุพรรณภาว นครพระชุม เบื้อง__ เมืองพาน
76
ิ
เมือง__ เมืองราด เมืองสะค้า เมืองลุมบาจาย เป็นบรพาร...” การที่จารึกเขียนว่า “ชากนราว” คง
เป็นคำเดียวกับ “ชากังราว”
(๒) พระไอยการลักษณลักภา พ.ศ. ๑๘๙๙ ตรงกับสมัยสมเด็จพระรามาธิบดี ที่ ๑ ระบุว่า
ี
่
“นายสามขลาเสมียนพระสุภาวะวีบังคมทูลแตสมเดจ์พระเจ้ารามาธิบดีศรบรมจักรพรรดิราชาธิราช
่
ิ
ี
ู่
ุ
ี
บรมบพตร พระพทธิเจ้าอยหัวประสงด้วยข้าหนเจ้าไพรหนนาย แลมีผู้คนเอาไปถึงเชลียงศุกโขไท
ทุ่งยางบางยมสองแก้วสหลวงชาวดงราวกำแพงเพช เมืองท่านเปนอันหนึ่งอันเดียวกันดั่งน” และได ้
ี้
้
่
้
กล่าวตอไปว่า “อย่าว่าข้าหนีเจ้าไพร่หนีนาย แลเขาลักไปขายถึงเชลียงทุ่งยางบางยมสหลวงสองแก้ว
้
้
77
ี้
ชาวดงราวกำแพงเพชสุกโขไท ใตหล้าฟาเขียว” ในพระไอยการนเขียนว่า “ชาวดงราว” คง
้
หมายถึง “ชากังราว” นนเอง จะเห็นว่าข้อความที่ยกมานีเขียนชอเมืองโดยเขียนติดกันไม่เว้นวรรค ไม่มี
ั่
ื่
ื
ความหรอลักษณะที่บอกแต่อย่างใดว่าเมืองใดคู่กับเมืองใด หากจะจับคู่โดยเอาชื่อที่ ๑ คู่กับชื่อที่ ๒ ชอ
ื่
่
่
ที่ ๓ คู่กับชือที่ ๔ ตามลำดับจนครบทั้ง ๘ ชอก็จะทำให้ชาวดงราวคู่กับกำแพงเพชร แตตามประโยคที่
ื่
ั
เป็นพระราชดำรสตอบได้ลำดับชื่อเมืองใหม่โดยเอาเมืองศุกโขไทซึ่งเดิมลำดับไว้เป็นชื่อที่ ๒ แต่มาคราว
ี้
ั้
ุ
้
่
นได้ลำดับไว้เป็นชื่อสุดท้าย ทำให้การจับคู่ตามแบบเดิมเปลี่ยนไป ดังนนจึงไม่มีเหตผลใดทีจะอ้างไดว่า
“ชาวดงราว” คู่กับ “กำแพงเพชร” แท้จริงแล้วการยกทั้งชื่อเมืองทั้งแปดมากล่าวนนเห็นเจตนาได้ว่า
ั้
เป็นการยกตัวอยางชื่อเมืองในกลุ่มเมืองเหนือที่เห็นว่าอยู่ไกล ดังวลีว่า “ใต้หล้าฟ้าเขียว” หมายถึงระยะ
่
75 พิเศษ เจียจันทร์พงษ. ๒๕๔๕. หน้า ๑๗๑ - ๑๙๑. บทความนี้พิมพ์ครั้งแรกในวารสาร ศิลปวัฒนธรรม
์
ปีที่ ๑๗, ฉบับที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๓๙, หน้า ๑๘๐ – ๑๘๘.
76 ประชุมจารึก ภาคที่ ๘ จารึกสุโขทัย. หน้า ๙๗.
77 มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง, ๒๕๒๙. หน้า ๑๒๔ – ๑๒๕.
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๘๖