Page 99 - เมืองลับแล(ง)
P. 99
ี
ทางไกลโพ้นเพยงเท่านั้น ดังนั้นพระไอยการลักษณลักภาจึงเป็นหลักฐานที่ปฏิเสธความเห็นว่า เมืองชา
78
กังราว (ชาวดงราว) เป็นชื่อเก่าของเมืองกำแพงเพชรด้วยก็ได้
สาเหตุที่เข้าใจไปว่าเมืองชากังราวคือชื่อเดิมของเมืองกำแพงเพชรมีที่มาจากข้อ
สันนิษฐานของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทั้งสิ้น โดยการอ้างถึง
เมืองชากังราวที่สมเด็จพระบรมราชาธิราช ที่ ๑ (พ่องั่ว) มารบถึง ๔ ครั้ง แต่ไม่สามารถเอาชนะได้อย่าง
เด็ดขาด ข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับที่ตั้งของเมืองชากังราว มีดังน ี้
ุ
(๑) คำอธิบายเรื่องสมเด็จพระบรมราชาธิราชตีกรุงสโขทัยใน “พระราชพงศาวดารฯ ฉบับพระ
ุ
ราชหัตถเลขา” ได้อธิบายไว้ว่า “เมืองชากังราวเป็นด่านใหญ่ของกรุงสโขทัย ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบแผนที่
เข้ากับเรื่องที่มีมาในพระราชพงศาวดารเห็นว่าเมืองชากังราวจะเป็นเมืองอื่นนอกจากเมืองกำแพงเพชร
้
ี้
ทุกวันนไม่ได ที่เมืองกำแพงเพชรที่จรงมีเมืองตงตดตอกันอยถึง ๓ เมือง เมืองหนึ่งอยข้างฝั่งตะวันตก
ู่
ิ
ิ
ั้
่
ู่
ั
ี้
้
(ของแม่นำปิง) ยงมีพระมหาธาตอยเมืองนข้าพเจ้าเข้าใจว่าเป็นเมืองเดิมที่เรยกชอว่า “ชากังราว”
ื่
ู่
ี
ุ
ึ
ี้
ตอมาสรางเมืองขึ้นอีกเมืองข้างฝั่งตะวันออก เมืองนเห็นชอในจารกของพระมหาธรรมราชา (ลิไทย)
้
่
ื่
เรยกว่า เมืองนครชม มีวัดวาอารามใหญ่โต ซึ่งมีฝีมือสรางครงเมืองสุโขทัยเป็นราชธานอยหลายวัด
้
ุ
ั้
ี
ี
ู่
ต่อมาเห็นจะเป็นด้วยเกิดเกาะขึ้นตรงหน้าเมืองนครชุม สายน้ำเปลี่ยนไปเดินข้างตะวันตกทำให้เมืองนคร
ิ
๋
ชมเป็นเมืองดอนไปจึงสรางเมืองกำแพงเพชรเดียวนที่รมแม่นำหนาเมืองนครชม มีป้อมกำแพงอยาง
ุ
้
้
่
้
ุ
ี้
ี
ั
้
แข็งแรงไว้สำหรบตอสู้ข้าศก อยู่ตรงข้ามเมืองชากังราวเดิม ชาวข้างใตคงจะเรยกชอเมืองชากังราวอย ู่
ึ
ื่
่
้
ตามเดิมโดยมาก โหรจึงใชชื่อนั้นจดลงในปูมและพระราชกฤษฎีกาของสมเด็จพระรามาธิบดี จึงใช้ควบ
ชื่อเก่าและใหม่ที่หนังสือพระราชพงศาวดารว่าไปตีเมืองชากังราวนั้นคือไปตีเมืองกำแพงเพชร
79
เป็นแน่ ไม่มีที่สงสัย
ื่
(๒) คำอธิบาย “เที่ยวเมืองพระรวง” ได้อธิบายไว้ว่า “เรองเมืองกำแพงเพชรเก่าใหม่ตรวจดู
่
สมัยตอมาได้ความดังน ที่เรียกว่าเมือง “นครปุ” นน ที่ถูกคือ “นครชุม” เพราะในจารกเขียน “นครชํุ”
ึ
ี้
ั้
่
ี้
ดังนน เมื่ออ่านกนในชั้นแรกเข้าใจว่าชื่อนครปุ ตอมาภายหลังจึงพิจารณาเห็นว่า ช เมืองนเป็นเมืองเดิม
ั้
ํุ
่
ั
ี
ที่เรยกในหนังสือพระราชพงศาวดารว่า เมืองชากังราว ตั้งอยฝั่งตะวันตก ใต้ปากคลองสวนหมาก
ู่
เมืองกำแพงเพชรที่ริมน้ำทางฝั่งตะวันออกเป็นเมืองสร้างทีหลัง หลังเมืองกำแพงเพชรออกไป
80
ทางตะวันออกที่มีวัดสร้างมากมายนั้น เป็นที่อรัญญิก มิใช่เมือง”
(๓) หนงสือ “ระยะทางล่องลำนำพงค์ พ.ศ. ๒๔๖๔” ได้อธิบายไว้ว่า “วัดมหาธาตุที่ปาก
ั
ิ
้
คลองสวนหมาก เยองเมืองกำแพงเพชรข้ามทางฝั่งตะวันตก แวะขึ้นนมัสการพระมหาธาตุแล้ว
ื้
78 พิเศษ เจียจันทร์พงษ. หน้า ๑๘๑ – ๑๘๒.
์
79 พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม ๒. หน้า ๒๙ – ๓๐.
80 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. เที่ยวเมืองพระร่วง. หน้า ๓๒.
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๘๗