Page 137 - เมืองลับแล(ง)
P. 137
ลำดับเหตุการณ์สำคัญทางประวติศาสตร์ลับแล
ั
LABLAE TIMELINE INSTRUCTIONAL MEDIA
ข้อมูลที่พบ ที่มา
ยุคสมัย
(INFORMATION) (REFERENCE)
์
ยุคก่อนประวัติศาสตร พบเครื่องมือเครื่องใช้ของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ วัดม่อนพัฒนาราม (ม่อนอารักษ์)
บริเวณยอดเขาม่อนอารักษ์ กรมศิลปากร กำหนดอายุโบราณวัตถุไว้
ราว ๒,๕๐๐ ปีมาแล้ว
พบกลองมโหระทึกที่บริเวณตำบลท่าเสา
พบขวานสำริด ณ วัดใหม่เชียงแสน ตำบลฝายหลวง
อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดตถ์
ิ
กำไล,หอก พบที่ ห้วยปู่เจ้า วัดม่อนพัฒนาราม (ม่อนอารักษ์)
ผู้พบคือ นายชรินทร์ สุกสง และ
ผู้ใหญ่บ้าน นาย นิกร ม่วงกิตติ
สมัยสุโขทัย พ.ศ. ๑๘๙๖ จารึกหลักที่ ๓๑๙ เจดีย์พิหาร
พระมหาธรรมราชาธิราช ที่ ๑ (ลิไทย) ครองราชย์ปีที่ ประชุมศิลาจารึกภาค ๘ จารึกสุโขทัย
๗ ได้มาก่อพระเจดีย์ที่ม่อนเชียงแก้ว และบางส่วนระบุ
ี่
ลักษณะภูมิประเทศทตั้งของเมืองนี้ ว่า มีเกาะ (ทดอน)
ี่
และสระ (หนองน้ำขนาดใหญ่) และบอกว่าเมืองนี้เป็น
เมืองด่านของสุโขทัย
สมัยอยุธยา พ.ศ. ๑๙๑๖ - ๑๙๓๑ พงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ
สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๑ (พ่องั่ว) กษัตริย์อยุธยา อักษรนิต ิ์
นำทัพขึ้นมาตีเมืองชากังราว (เมืองซาก?) ๔ ครั้ง
สันนิษฐานว่าเมืองซาก ตามข้อสันนิษฐานในบทความ [ต้นฉบับสมุดไทย ฉบับอยุธยา และฉบับ
เรื่อง ชากังราวไม่ใช่เมืองกำแพงเพชรแตเป็นพื้นทหนึ่ง ธนบุรี สะกดเป็น “ซากังราว”]
ี่
่
ของอำเภอลับแล
พ.ศ. ๑๙๑๖ พงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ
เสด็จไปเมืองชากังราวแลพญาไสแก้วแลพญาคำแหง อักษรนิต ิ์
เจ้าเมืองชากังราวออกต่อรบท่าน ๆ ได้ฆ่าพญาไสแก้ว