Page 142 - เมืองลับแล(ง)
P. 142
ว่า เชลยครัวลาวพุงดำ5 ได้แตกหนีพากันหลบเข้าป่า
ไป พระยาสมบัติบาลจึงได้แต่งกองลาดตะเวนตาม
เมืองต่างๆเพื่อออกสกัดจับริบทรัพย์อาวุธปืนและชาง
้
ของครัวเหล่านั้น ได้ตรวจพบว่าลาวพุงดำหลบหนีไป
อยู่ในทุกหัวเมือง ครัวละร้อยคนบ้าง สองร้อยคนบ้าง
สามารถจับกุมมาได้บ้าง หนีไปได้บ้าง และเมื่อพระยา
สมบัติบาล ได้ยกทัพออกจากเมืองน้ำปาดเพื่อขึ้นไป
สมทบกับทัพใหญ่ที่เมืองเลยนั้น ระหว่างทางก็ยังได้พบ
ลาวพุงดำแอบหลบซ่อนอยู่ในป่า จึงได้เข้าสกัดจับกุม
แต่กระนั้นพวกลาวพุงดำก็ยังสามารถทำการหลบหนี
ไปได้อีกเป็นจำนวนมากลาวพุงดำ หมายถึงลาวล้านนา
หรือชาวไทยวน ชายชาวไทยวนนิยมสักตั้งแต่พุง (ใต ้
อก) เรื่อยไปจนถึงน่องหรือข้อเทาจึงได้ชื่อว่าลาวพุงดำ
้
ส่วนลาวพุงขาวหมายถึงลาวล้านช้าง ซึ่งชายชาวล้าน
ช้างจะไม่นิยมสักบริเวณพุงจึงเรียกลาวพุงขาว
ั
้
จากข้อมูลนี้ทำให้ทราบชาวล้านนาที่หนีทพเจาอนุวงศ ์
จากสระบุรีหนีกระจายมาพื้นที่แถบนี้ และจาก
คำให้การของเชลยลาวล้านนาพบว่าบางส่วนเป็นชาว
เชียงใหม่ที่ไปอยู่เมืองสระบุรี สันนิษฐานว่าอพยพไป
เมื่อครั้งเมืองเชียงแสนแตก
พ.ศ. ๒๓๗๓ บัญชีครัวซึ่งข้าหลวงกรมการชำระได ้
ราชสำนักกรุงเทพฯ มีคำสั่งให้หัวเมืองชำระรับ และบอกลงมา จ.ศ. ๑๑๙๒” จดหมาย
ครอบครัว(หรือสำรวจสัมมะโนประชากร) โดยให้พระ เหตุรัชกาลที่ ๓ เล่ม ๕. หน้า ๖๗ และ
ยาพิชัยควบคุมไพร่ลาวล้านช้าง(ชาวเวียงจันทน์กับชาว หน้า ๗๐.
พวน)ที่ถูกคุมอยู่จากเมืองหลวงพระบางลงมาเมือง
พิชัย ที่น่าสนใจคือ พระลับแล (เจ้าเมืองลับแล) ระบุ
ว่ามีชาวลาวล้านช้างในสังกัดเป็นวัยฉกรรจ์ ๑๔ ครัว
(คน) และวัยอื่น ๔๑ คน รวม ๕๕ คน
ิ
[เป็นไปได้ที่กลุ่มชาตพันธุ์ล้านช้าง กลุ่มลาวพวน ที่มา
อยู่ในพื้นที่ลับแลในช่วงนี้]
จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ระบุ“เมืองลบแล ประชุมจารึกวัดพระเชตุพนฯ. หน้า
ั
อยู่ดอน ๑ เมืองปากเหืองตอน ๑ เจ้าเมืองชื่อพระอณะ ๑๙๕.
พินาศ ๑ เมืองน้ำปาด ๑ เมืองสวางคบุรี ๑ รวมลำน้ำ
พิชัย ๓ เมือง เมืองตรอนตรีศิลป์อยู่หนบูรพาสวางค ๑
์