Page 139 - เมืองลับแล(ง)
P. 139
ราชได้ยกทัพไปตีได้เมืองปากยม (พิจิตร) สันนิษฐานว่า
พระเจาติโลกราชมีพระราชอำนาจเหนือดินแดนชาย
้
ขอบขัณฑสีมาของอยุธยา (เมืองฝาง,เมืองทุ่งยั้ง (เมือง
ลับแลเป็นส่วนหนึ่งของเมืองทุ่งยั้ง) พิษณุโลก,ปากยม)
พ.ศ. ๒๐๐๒ โวหารตำนานพระเท่นศิลาอาสน์เมืองทุ่ง
พระญาศรีธัมมาอโศกราช (พระเจ้าติโลกราช) เสดจมา ยั้ง พบที่ วัดท้องลับแล ตำบลฝายหลวง
็
ตั้งทัพที่เมืองทุ่งยั้ง (อำเภอลับแล) ก่อนจะยกทัพไป อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดตถ์
ิ
เมืองสวรรคโลก (จากเนื้อความตอนนี้ยังคงแสดงให้
เห็นว่าพระเจ้าติโลกราชมีพระราชอำนาจเหนือเมืองทง ุ่
ยั้ง,เมืองเชลียง (เชียงชื่น,สวรรคโลก)
่
อีกทั้ง จากการตรวจสอบจากกรมศิลปากร ระบุวา
ั
ลวดลายประติมากรรมประดับซุ้มโขงพระเจ้า วด
ดอนสัก เป็นศิลปกรรมแบบล้านนา พุทธศตวรรษที่
๑๙ (ร่วมสมัยพระเจ้าติโลกราช แห่งล้านนา)
พ.ศ. ๒๑๐๖ มหาราชวงษ์พงศาวดารพม่า
พระเจ้าบุเรงนองได้ยกทัพไปบุกกรุงศรีอยุธยาในศก
ึ
ึ
ุ
้
ช้างเผือกเมื่อจลศักราช ๙๒๕ หลังจากเสร็จศกชางกับ
กรุงศรีอยุธยาพระเจ้าบุเรงนองได้กรีธาทัพไปตีเมือง
เชียงใหม่ผ่านทางอินทคีรี (เส้นทางด่านเขาพลึง เมือง
ลับแล) โดยสมเด็จพระมหาธรรมราชา เจ้าเมือง
พิษณุโลก ออกญาสวรรคโลก และทัพแล็ดต่อไชย (ลบ
ั
แลงไชย) เข้าร่วมทัพในครานั้น
พ.ศ. ๒๑๖๑ ลานธัมม์ มหานิพานสูตร พบที่วัดน้ำใส
ี่
พบใบลานอายุ ๔๐๔ ปี ซึ่งจารด้วยภาษาล้านนา ทวัด ตำบลชัยจุมพล อำเภอลับแล จังหวัด
น้ำใส ตำบลชัยจุมพล อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ อุตรดิตถ์
ั
ถือเป็นใบลานที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่พบในพื้นที่เมืองลบ
แล ซึ่งตรงรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอาทิตยวงศ์ แห่งกรุง
ศรีอยุธยา
พ.ศ. ๒๑๗๙ ลานธัมม์ นิไสยปาฏิโมกข พบที่วัดน้ำใส
พบใบลานอายุ ๓๘๖ ปี ซึ่งจารด้วยภาษาล้านนา
ตำบลชัยจุมพล อำเภอลับแล จังหวัด
ที่วัดน้ำใส ตำบลชัยจุมพล อำเภอลับแล จังหวัด อุตรดิตถ์