Page 144 - เมืองลับแล(ง)
P. 144
บทกวี คร่าวสี่บท และจารึกพระเจ้าไม้ วัดลับแลง
หลวง
พ.ศ. ๒๔๑๗ ราชกิจจานุเบกษา (๒๔๑๗-๒๔๑๘).
ต้นคำแปลหนังสือขดเมืองหลวงพระบาง ปรากฏพบ ต้นคำแปลหนังสือขดเมืองหลวงพระ
ตำแหน่งเจ้าเมืองนามว่า “หลวงพิชิตภักดีแสนหลวง บาง.
ตำแหน่งผู้ว่าราชการด่านแม่นางลำพูน (ด่านนางพูน)
ทำให้สันนิษฐานว่าเมืองด่านแม่นางพูนตั้งขึ้นในสมัย
ต้นรัชกาลที่ ๕
พ.ศ. ๒๔๒๐
ได้มีตราตั้งให้ หลวงโยธาภักดีเป็น พระวิเชียรคีรี ผู้ว่า
ราชการเมืองด่านนางพูน ถือศักดินา ๑๐๐๐
พระยาศรีสุริยราชวรานุวัตรฯ พระยาพิชัย (มิ่ง) เป็น
ผู้ว่าราชการเมืองพิชัย ถึงแก่อนิจกรรม พ.ศ. ๒๔๒๘
ครั้งไปเป็นนายทัพศึกฮ่อเมืองเชียงคำ แล้วเป็น
ข้าหลวงใหญ่เมืองหลวงพระบาง
พ.ศ. ๒๔๔๑
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชา
นุภาพ ตรวจราชเมืองลบแล
ั
พ.ศ. ๒๔๔๔ จดหมายระยะทางไปพิษณุโลก
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยานริศรานุวัดต ิ
วงศ์ เสด็จประพาสเมืองลับแล
พ.ศ. ๒๔๔๓
พระยาศรีสุริยราชวรานุวัตร (เชย กัลยาณมิตร) มีการ
ื
ยุบเมืองขึ้นต่าง ๆ ของพิชัย จากเดิมมี ๑๓ เมือง คอ
่
พิพัฒ ปัตบูรณ์ พิมูล ขุนกัน อุตรดิฐ ทุ่งยั้ง ลับแล ดาน
นางพูน ฝาง ตรอน น้ำปาด เชียงคาน แมด จัดตั้งเป็น
อำเภอในสังกัดเมืองพิชัย ๕ อำเภอ คือ
๑. อำเภอเมืองพิชัย = ยุบเมืองพิพัฒ (ไร่อ้อย), ยุบ
เมืองปัตบูร (บ้านโคน), ยุบเมืองขุนกัน (นายาง)
๒. อำเภออุตรดิฐ = ยุบเมืองพิมูล (ปากฝาง) และเมือง
ฝาง (ต. ผาจุก + ต. คุ้งตะเภา)
๓. อำเภอตรอน = (เขตพื้นที่ อ. ตรอน, อ. ทองแสน
ขัน ในปัจจุบัน)