Page 262 - เมืองลับแล(ง)
P. 262
เนื้อความที่ ๓๓
(ฉบับที่ ๑)
ี
กันกองเศิกเวียงพิงคนทีเชียงใหม่ พระเจ้าม่านกวาดคนแลข้าวครัวรวมทั้งหลายลงใต้หมายเอาตีเวยง
้
ไธยนั้นกลับ ต้องกลเศิกพระญาเจ้าฟ้าเนรศแตกพ่ายพลเศิกชาวลับแลงไจยหนีตายแตกมางลักหล้าคืนสู่
เวียง มีเจ้าสองเรือนผู้ลูกหมื่นคำกองเป็นเกล๊า จึ่งจัดแต่งดาเวียง วัดใดห่างเส้าจมหายบ่ดีส้างคืน กเตรอ
็
ื้
เอาหมะหินดินกี่มาถมแต่งส้างเวียงและพิหารอารามใหญ่น้อย /
(ฉบับที่ ๒)
กันกองเศิกเวียงพิงคณทีเชียงใหม่ พระเจ้าม่านกวาดฅนแลข้าวของครัวงามทั้งหลายลงใต้หมายเอาต ี
เวียงไธยนั้น กลับต้องกลเศิกพระญาเจ้าฟ้านเรศแตกพ่าย พลเศิกชาวลับแลงไจยหนีตายแตกม้างลัก
หล้าฅืนสู่เวียง มีเจ้าสองเรือน ผู้ลูกหมื่นฅำกองเป็นเกล๊า จึ่งจัดแต่งดาเวียง วัดใดห่างเส้าจมหาย บ่ด ี
ส้างฅืน ก็เตรื้อเอาหมะหินดินกี่มาถมแต่ง ส้างเวียงแลพิหารอารามใหญ่น้อย ลีด รื้อ ม้างประตูผ่านเวยง
ี
เก่า ขนหินดินสี่ก่อก้ำพระสาสนา ก็มดังอั้น ชะแล
ี
เป็นการกล่าวถึง ขณะที่กองทัพพม่า (หงสาวดี) ยกทัพมาจากเหนือลงมาทางใต้ ได้ต้องกลศก
ึ
“พระญาเจ้าฟ้านเรศ (เนรศ)” คือ สมเด็จพระนเรศวรฯ แตกพ่าย พลศึกชาวลับแลงไชยหนีออกจากการเกณฑ์
ของฝ่ายพม่า จึงหนีกลับเวียงได้ มีเจ้าสองเรือน ลูกหมื่นคำกองเป็นหัวหน้า เข้าจัดแต่งทำนุบำรุงเวียงลับแลง
ไชยใหม่ โดยการ “จัดแต่งดาเวียง วัดใดห่างเส้าจมหาย บ่ดี ส้างฅืน ก็เตรื้อเอาหมะหินดินกี่มาถมแตงสางเวียง
่
้
แลพิหารอารามใหญ่น้อย”
จากบริบทนี้ทำให้เห็นได้ว่าฉบับที่ ๑ และฉบับที่ ๒ มีเนื้อความแตกต่างกัน เลกน้อย โดย ฉบับที่ ๒
็
เพิ่มเติมเนื้อความคือ “ลีด รื้อ ม้างประตูผ่านเวียงเก่า ขนหินดินสี่ก่อก้ำพระสาสนา ก็มีดังอั้น ชะแล”
เนื้อความที่ ๓๔
(ฉบับที่ ๑)
ี
ขึ้นปีกดเม็ด จุลศักราชได้ ๙๕๒ ตัว ศาสนาล่วงได้ ๒๑๓๓ ปี พญาเจ้าเนรศขึ้นนั่งเวียงใต้ศรีโยธียามใบ
้
ท้องตราบอกตั้งเจ้าหนานสองเรียน บุตรเจ้าหมื่นคำกองแลนางแกวช่อเทวขึ้นกินเวยงลับแลงไจย แลยก
ี
ี
เวียงขึ้นแก่พญาพิไชย ปีนั้น เจ้าสองเรือนได้ทะรงเถิงยังองค์สังฆาธุเจ้า แลตั้งราชวัตรฉัตรตุง ส่งสืบ
ชะตาเวียงตามแนวไจยมังคลาสถานตามรตเดมออนก่อนหนเจ้าพญาตนเกล๊าเจ้าติโลกะราชาฟ้าฮ่าม แล
ิ
ี
ตั้งข่วงพิธีใหว้สาแต่งขันน้ำขะมิ้น ส้มป่อย ดอกสาระปี ใบแหน่ง ข้าวของโภชนังมังสาออกสระสรงยังโฮง
การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
หน้า ๑๑๒