Page 265 - เมืองลับแล(ง)
P. 265

เนื้อความที่ ๓๖


                 แลขึ้นนั่งเวียงถัดมารอดเถิง ปีกดใจ้ จุลศักราชได้ ๑๐๒๒ ตัว  พุทธศาสนานับล่วงได้ ๒๒๐๓ ปีข้าว

                 พระญาเวียงไชยสรีโยธิยาสองฝั่งฟ้าเจ้าละโว้ขุนมหานารายตนเป็นเจ้าจอมธัมม์ กุมพลเศิกหมายใจ

                 ขึ้นมาตีเวียงเชียงใหม่ด้วยพระญาฅำแขกเจ้าเวียงแพร่ ผู้กินเวียงเชียงใหม่ ส่งใบบอกท้องตราขอขึนมา
                                                                                                     ้
                 น้องต่อเวียงไธย แลจักขอพลเศิกขึ้นแก้เวียงขับม่าน



                       เป็นการกล่าวถึง ปี พ.ศ. ๒๒๐๓ ที่สมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้ยกทัพจากกรุงศรีอยุธยาขึ้นมาต ี
                                                                                                        ่
               เมืองเชียงใหม่ เนื่องจาก “พระญาฅำแขกเจ้าเวียงแพร่ ผู้กินเวียงเชียงใหม่ ส่งใบบอกท้องตราขอขึ้นมาน้องตอ
                                                                                                     ั
                                                                         ี
               เวียงไธย แลจักขอพลเศิกขึ้นแก้เวียงขับม่าน” ซึ่งใน ตำนานพื้นเมืองเชยงใหม่ ได้บอกว่า “สก ๑๐๒๑ ตว ปล ี
               กัดใค้ เอาพระญาเจ้าเมืองแพล่ขึ้นนั่งแท่นแก้วเชียงใหม่ปลีนั้น” คือ เป็นการบอกว่าเจ้าเมืองแพร่ได้มาครอง
                                                       ื่
               เมืองเชียงใหม่ แต่ไม่ได้บอกว่าเจาเมืองแพร่นั้นชอ “พระญาคำแขก” ต่อมา ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ไดบอก
                                          ้
                                                                                                      ้
                               ั
                                                                                                     67
               ว่า “ษก ๑๐๒๒ ตว ปลีกดใจ้ ชาวใต้ยกพลขึ้นมารบเมืองเชียงใหม่ บ่ได้ เชียงแสนพ่ายชาวใต้ปลีนั้น”   คอ
                                                                                                        ื
               ตรงกับ พ.ศ. ๒๒๐๓
                       ซึ่งในพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา ได้กล่าวถึงเหตการณ์ในครั้งนี้ว่า “ในศักราช ๑๐๒๒
                                                                           ุ
               ปีชวด โทศก (พ.ศ. ๒๒๐๓) นั้น มีหนังสือพระยาแสนหลวง  ณ เชียงใหม่ให้แสนสุรินทรไมตรีถือลงมาถึงอัคร

                                                                                                ี
               มหาเสนาบด  ี  ณ  กรุงเทพพระมหานครบวรทวาราวดีศรีอยุธยา ว่าชาวจีนฮ่อยกทัพจะมาตเมืองเชยงใหม่”
                                                                                                        68
                                                                                          ี
               คือ พระยาแสนหลวง เจ้าเมืองเชียงใหม่ได้ส่งใบบอกมายังกรุงศรีอยุธยาให้ยกทัพไปช่วยเพราะจะมีศึกฮ่อมา
               ประชิดเมือง สมเด็จพระนารายณ์ฯ จึงยกทัพจากกรุงศรีอยุธยาขึ้นมายังเมืองเชียงใหม่ตามคำร้องขอ


               เนื้อความที่ ๓๗



                 ขุนมหานารายเจ้าจอมธัมม์ก็จักพักยั้งที่เวียงสองแฅว ไคว่ครบได้ ๒๐ วัน ก็ยกพลเศิกขึ้นมาพักยั้งที่เวยง
                                                                                                       ี
                 ลับแลงไจย  เจ้าจอมธัมม์ขุนนารายก็ออกไหว้สาพระเจติยะเจ้าพิหาร อันสืบมาแต่ตนพระญาลือไธย ยัง

                                                                                                ุ
                 ดอยม่อนแก้วเจติยะพิหารนั้น  แลได้สรเด็จเข้าเวียงผ่านประตูผาแก้ว ขุนหาญกาบแสงเจ้ากมเวียง แล
                 ชาวเวียงออกรับต้อนเจ้าจอมธัมม์ขุนนาราย ถวายเงินนับได้ ๑๐๐ เงิน แป๋งพระวิหารวัดบุปผารามสวน
                 ดอกไม้สัก ด้วยเหตุว่าเกิดเกล๊าไมสักขอนหลวงกูดล้ม  พระญาใต้จึ่งสั่งเกนครัวคนฝูงทั้งหลายเกียวดาหิน
                                             ้
                 ดินกี่จากวัดห่าว แลครัวไม้ ครัวงามมาก่อปอกงำพิหารเปยกุมโขงหลังแต่เดิมหื้อมั่น



                       67  ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับ เชียงใหม่ ๗๐๐ ปี, ๒๕๓๙, หน้า ๙๙.
                       68  พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม ๓, พิมพ์ครั้งที่ ๑๑, นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
               ๒๕๕๙, หนา ๔๒.
                        ้
                                             การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
                                                        หน้า ๑๑๕
   260   261   262   263   264   265   266   267   268   269   270