Page 270 - เมืองลับแล(ง)
P. 270

๒) ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับเมืองเชียงใหม่ ๗๐๐ ปี ได้บอกในตอนท้ายจบลานธัมม์ว่า “พื้นนคร

                                                        75
               นิทานกถา ผูกถ้วนแปด ค็แล้วเท่านี้ก่อนแล”   โดยคณะทำงานปริวรรตสอบทานได้นำตำนานพื้นเมือง
                                                                                                    ้
               เชียงใหม่ ตำนานสิบห้าราชวงศ์ และพงศาวดารโยนกมาเทียบเคียง โดยเลือกใช้ฉบับหลักคือ ตำนานพืนเมือง
               เชียงใหม่ฉบับวัดพระงาม เชียงใหม่ จ.ศ. ๑๒๑๖ (พ.ศ. ๒๓๙๗ – ตรงกับสมัยต้นรัชกาลที่ ๔ แห่งกรุง

               รัตนโกสินทร์) จากหอสมุดแห่งชาติ ซึ่งถือเป็นฉบับที่เก่าที่สุดและมีความแม่นยำในการใช้คำกล้ำและตัวสะกด
                       ๓) ตำนานมูลศาสนา ฝ่ายสวนดอก เชียงใหม่ ปริวรรตจากใบลานวัดเมืองมาง เชียงใหม่ได้บอกในตอน

                                                                                              ้
               สุดท้ายว่า “สทธาพระญาณวุฒิภิกขุยอดเขียนคำสมภารครูบาสีวิไชยเจาบ้านพางปาง เมื่อข้าไดมาอยู่จำวัสสา
                                                                          ้
                                                      ้
               กับท่านที่วัดพระสิงห์ราม เมื่อสกกราชได้ ๒๔๗๒ สะเด็ดแล้วเดือน ๑๑ ลง ๒ ค่ำ ปีสง้า วันยามกองงาย ขวาย
                                                                                     76
               สน่อย แล” คือเป็นการบอกว่า พระญาณวุฒิ เป็นผู้คัดลอกเมื่อ ปีมะเมีย พ.ศ. ๒๔๗๒
                       ๔) ตำนานมูลศาสนา ฝ่ายวัดยางควง เชียงตุง ปริวรรตจากใบลานวัดบ้านเอื้อม จังหวัดลำปาง ได้บอก

                                                                                                        ุ่
               ในตอนสุดท้ายว่า “ดูกรานักบุญเจ้าทั้งหลายฝูงขงขวายคองชอบ ประกอบด้วยประยา (ปัญญา) พิจารณาจง
               อ่านเลียบดูขึ้นใจขึ้นปาก เขียนสืบไว้(ปรัมปรา) บุปผารามอย่าหื้อบัวราณตำนานสาสนาพระเจ้าเราชาดอัน

                                                                                                         ้
                                  ี่
                                                                    ้
                             ี
                                                                 ่
               ทรายกลับหายเสยตกทใด จุ่งรักษาไว้หื้อหมื้นหื้อแก่นตราบตอเทา ๕๐๐๐ ภวัสสา หื้อเป็นแกนเป็นสารแก่เจา
               ทั้งหลายแด่เทิอะ ขียา(เรื่องราว) อันกล่าวห้องมูลสาสนาก็บังคมสมเดจสเด็จ (เสร็จสำเร็จ) แล้วเท่านี้ก่อนแล
               เสด็จแล้วยามแถ (แตร) จักใกล้เที่ยงจักบยร (เพล)สันทอนก็บริบูรณแก่ข้าวันนั้นแล นานเฮยชอข้าว่าสามเณร
                                                                                             ื่
                              ุ
               ริขิตะวันนั้นแล ตติตเหนือ ขึ้น ๑๒ ค่ำ พ่ำว่าได้วัน ๕ สักราชได้ ๒๔๖๓ ตัวปีกดสัน เดือน ๓ ก็บริปุณณะแก่ข้า
                                                                ิ
               วันนั้นแล ปถมมูลศรัทธาสามเณรชังกาเขยนปางเมื่อปฏิบัตและพระอภิวัวงค์วันนั้นแลนายเฮย ข้าไดเขียนธัมม
                                                                                                 ้
                                                 ี
                                                                                                         ้
               ผูกนี้ไว้โชฏการ พุทธสาสนาพระโคตมเจ้าตราบต่อเท้า ๕๐๐๐ ภวัสสา แท้ดีหลี ขอหื้อนิสัยปัยจัยแก่นิพพานเจา
                                                                                                  ่
                                                                                                    ้
               ดีหลี นิจจํ ธุวํ ธุวํ แด่เทอะ หน้ารับมูลสาสนาแลนายเฮย ธรรมที่วัดบ้านเอื้อมนครลำปางแก้วกว้างทาทางทาง
                                                                                       ่
                                                                                                     77
               หลวง นายเหยเขียนแล้วก้อง ๕ จักเพยรสันทอน และที่ไหว้ ลงนามเณรไชย์ลังกาบ้านทาหัวขัวดอนชัย”   คอ
                                                                                                        ื
               บอกว่า ตำนานมูลศาสนานี้สามเณรไชย์ลังกา เป็นผู้คัดลอกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๓
                       ๕) ตำนานมูลศาสนา ฝ่ายป่าแดง เชียงตุง ปริวรรตจากใบลานวัดบุพาราม บ้านเอื้อม จังหวัดลำปาง
                               ้
                            ุ
               ได้บอกในตอนสดทายว่า “มุลสสาสนาญาณคมภีรแล สักราชได้ ๑๒๗๐๔ ตัว ปี เดือน๑๐ ออก ๒ ค่ำ เมง วัน
                                                     ั
                                                                                                 ุ
                                                                                                  ุ
               อังคารไทย แล้วยามกลองแลงเสดจ (เสร็จ) แล้วแก่ข้าแล สัทธาปู่ท้าวชุมภู ปางเมื่อเป็นอุปฺปาสกฺกคฬอุปฺปฐาก
                                           ็
               สาธุเจ้าคันธาเป็นเจ้าอาวาสนวัดบุพพาราม บ้านเอมวันนั้น สร้างเขียนอุปถัมภกสาธุเจ้าคันธวงวันนั้นแล ข้าเกิด






                       75  ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับ เชียงใหม่ ๗๐๐ ปี, ๒๕๓๙, หน้า ๑๖๘.

                       76  ประเสริฐ  ณ นคร และปวงคำ  ตุ้ยเขียว, ตำนานมูลศาสนาเชียงใหม่และเชียงตุง, กรุงเทพฯ : สมาคม
               ประวัติศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี, ๒๕๓๗, หน้า ๘๑.
                       77  ประเสริฐ  ณ นคร และปวงคำ  ตุ้ยเขียว, ๒๕๓๗, หน้า ๑๓๒ – ๑๓๓.

                                             การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
                                                        หน้า ๑๒๐
   265   266   267   268   269   270   271   272   273   274   275