Page 273 - เมืองลับแล(ง)
P. 273

บทที่ ๔

                                  อิทธิพลวรรณกรรมลับแลที่มีผลกระทบกับท้องถิ่น




































                                ซุ้มประตูเมืองลับแล สร้างโดย เทศบาลตำบลศรีพนมมาศ พ.ศ. ๒๕๔๖





               ๑.   ตำนานเมืองแม่ม่าย

                       เรื่องตำนานเมืองแม่ม่ายได้เป็นตำนานต้นเรื่องของเมืองลับแลที่เป็นแนวปกรณัมหรือมุขปาฐะ (เรื่อง
               เล่า)คาดว่าตำนานนี้สะท้อนมาจากอัตชีวประวัติของพญาพรหมโวหาร (หนานพรหมอินทร์) กวีเอกแห่งลานนา
                                                                                                     ้
               [สมัยรัชกาลที่ ๓ – ๕] จากการประพันธ์ ‘ค่าวสี่บท’ หรือ ‘ค่าวนางชม’ ซึ่งนางชมเป็นหญิงม่ายจากเมืองแพร่ท ี่

                                                                                              ั
               พญาพรหมโวหารได้พาหนีมาอยู่บริเวณบ้านสันคอกควาย (บ้านเชียงแสน) แล้วนางชมได้หนีกลบเมืองแพร่ไป
               ทำให้พญาพรหมโวหารได้ประพันธ์ ‘ค่าวสี่บท’ ที่มีเนื้อความรำพึงถึงนางชม หญิงหม้ายแห่งเมืองแพร่ จนกระ

                                                     ้
                                                                ่
               ทั้งเรื่องราวของพญาพรหมโวหารกับนางชมไดถูกถายทอดผานการบอกเล่าปากต่อปาก จนเกิดเป็นนิทานเรื่อง
                                                         ่
               “เมืองลับแล : เมืองแม่หม้าย”
                       แล้วนำมาสู่การสร้างภาพลักษณ์ของพื้นที่ทางการท่องเที่ยวภายใต้ชื่อ “เมืองลับแล  เขตห้ามพูด

               โกหก” จนนำมาสู่การสร้างซุ้มประตูเมืองลับแลและรูปปั้นแม่ม่ายอุ้มลูกที่สะท้อนมาจากตำนาน โดยความ

               เห็นชอบจากสภาเทศบาลตำบลศรีพนมมาศ ชุดที่ ๒๑ อนุมัติให้ดำเนินการก่อสร้าง โครงการก่อสร้างซุ้มประต ู
               เมืองลับแลและประติมากรรมแม่ม่าย ขนาดความกว้าง ๑๐ เมตร ความยาว ๔๑ เมตร ความสูง ๑๔ เมตร ตาม


                                             การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
                                                        หน้า ๑๒๓
   268   269   270   271   272   273   274   275   276   277   278