Page 14 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 14
ี่
กำไลและปลายหอกสำริด จากห้วยปู่เจ้า รักษาไว้ทวัดม่อนพัฒนาราม (ม่อนอารักษ์)
ผู้พบคือ นายชรินทร์ สุกสง และผู้ใหญ่บ้าน นาย นิกร ม่วงกิตติ
ทำให้ ศาสตราจารย์พิเศษ ศรีศักร วัลลิโภดม ผู้เชี่ยวชาญทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี ให้
ั
ื่
ความเห็นว่า ยอดดอยของม่อนอารกษ์ หรอม่อนพฒนาราม(ชอใหม่) แห่งเมืองลับแล เปรยบเสมือน
ั
ื
ี
ภูเขาศักดิ์สิทธิ์ ใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรม ตามความเชื่อของมนุษย์ยุคโบราณ
1
จากการใช้ยอดดอยของม่อนอารักษ์ในยคก่อนประวัติศาสตร เมื่อมีชมชนเกิดขึ้นบรเวณที่ราบ
ุ
ิ
์
ุ
ี้
ลุ่มคลองแม่พร่องจึงยังคงใช้พนที่ของม่อนดอยแห่งนเป็นที่สถิตแห่ง “ ผี ” หรืออารักษ์หลักเมืองลับแล
ื้
ื้
ั
เป็นพนที่ศกดิ์สิทธิ์สำหรับประกอบพิธีส่งสังขาร และพิธีแห่น้ำขึ้นโฮงสักการเจ้าฟ้าฮ่าม อันเป็นประเพณี
ท้องถิ่นที่เชื่อว่าเจ้าฟ้าฮ่ามกุมาร ปฐมกษัตริย์แห่งเมืองลับแล มีดวงวิญญาณสถิตอยู่ที่ม่อนนเช่นกัน
ี้
์
่
ุ
ื้
ิ
หลักฐานก่อนประวัตศาสตรดังกล่าวจังเป็นสิงที่แสดงว่า พนที่เขตอำเภอลับแล มีชมชน
ิ
สมัยก่อนประวัตศาสตรอาศยอยมาก่อน แล้วจึงมีการรบวัฒนธรรมจากภายนอก ดังที่มีการพบ
์
ั
ู่
ั
่
เครื่องมือเครื่องใชประเภทขวานหินกะเทาะ ขวานหินขัด และกำไลหินขัดทีมีเนื้อหินละเอียดและขัดมัน
้
อย่างประณีต เป็นวัตถุบ่งชี้ถึงความเก่าแก่ของชุมชนโบราณในแถบเทือกเขานี้
ั้
ั
ื้
สืบเนองตอมาถึงวัตถุสำรดทีพบในพนที่อำเภอลับแล โดยเฉพาะพนที่ม่อนอารักษ์นน สัมพนธ์
่
่
ื้
ื่
ิ
กับหลักฐานทางโบราณคดีพนที่แหล่งฝังศพยคก่อนประวัติศาสตรสมัยโลหะแถบเทือกเขาสูงและที่ราบ
ุ
์
ื้
ลุ่มระหว่างหุบเขาในเขตภาคเหนือ ราว ๒,๕๐๐ ปีลงมาแล้ว
1 วารสารเมืองโบราณ ปีที่ ๔๕ ฉบับที่ ๑ มกราคม-มีนาคม ๒๕๖๒ หน้า ๔๗.
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๒