Page 15 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 15
เปิดม่านลับแลสมัยสุโขทัย
ั
ในสมัยสุโขทัย ยงไม่มีการปรากฏชอเมืองลับแลในเอกสารใด แต่พบหลักฐานเชงประจักษ์ทาง
ิ
ื่
ประวัติศาสตรและโบราณคดีที่แสดงถึงความเกี่ยวข้องกับรัฐสุโขทัย-ศรสัชนาลัยอยู่ไม่น้อย ด้วยอาณา
์
ี
ั้
บริเวณที่ตั้งของเมืองลับแลตั้งอยู่บริเวณที่ราบลุ่มเชิงเขาทางตอนเหนือของ “เมืองทุ่งยง” อันเป็นเมือง
สำคัญในที่ราบลุ่มแม่น้ำน่าน อยู่ห่างจากเมืองศรีสัชนาลัยประมาณ ๓๕ กิโลเมตร เมืองทุ่งยั้งมีร่องรอย
ี
้
่
ี
ื่
ของคูนำ-คันดิน มีชอเรยกในปัจจุบันอันเป็นสัณฐานของเมืองซ้อนกัน ๒ ชวง คือ ตอนบน เรยกว่า
“เวียงเจ้าเงาะ” มีลักษณะเป็นคันดินซ้อน ๓ ชน และบ่อน้ำในตัวเวียง ส่วนตอนล่างของเวียงเจ้าเงาะมี
ั้
แนวคันดินเชอมลงมามีแนวคูน้ำ-คันดินเหลืออยู่บางส่วน มีวัดพระบรมธาตุเป็นศูนย์กลางของเมืองทุ่ง
ื่
ยั้ง ซึ่งวัดพระบรมธาตเป็นโบราณสถานสำคัญมีพระเจดีย์ทรงระฆัง จากการซ้อนฐานสี่เหลี่ยมของพระ
ุ
ี
เจดีย์ประธานทำให้เชื่อว่าแต่เดิมอาจมีรปทรงเป็นเจดีย์ทรงสโขทัยที่เรยกว่า ‘ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์’ หรือ
ุ
ู
‘ทรงยอดดอกบัวตูม’ นอกกำแพงเมืองทุ่งยงด้านทิศใตมีโบราณสถานที่ถูกซ่อมแปลงก่อสรางด้วย
ั้
้
้
ื
ศิลาแลงคือ วัดฤาษีทรงธรรม ด้านทิศเหนอของเวียงเจ้าเงาะ (เมืองทุ่งยั้งตอนบน) มีวัดฤๅษีสำราญ
ด้านทิศตะวันออกของเมืองทุ่งยงมีโบราณสถานที่มีลักษณะรูปทรงฐานสี่เหลียมซ้อนชั้นอยางเจดีย์ทรง
่
่
ั้
ู
ยอดดอกบัวตม คือ วัดทองเหลือ ตอนเหนอขึ้นไปประมาณ ๒ กิโลเมตรมีโบราณสถานก่อสรางด้วย
้
ื
ู่
ื
ู่
่
้
ศิลาแลง นาจะเป็นวัดทองล้น ดังที่มีสำนวนว่า วัดทองลนอยเหนอ วัดทองเหลืออยใต สภาพปัจจุบัน
้
ี
ั
่
ั้
้
ู่
อยกลางหมู่ตนไม้ มีรองรอยการพงทลายของโบราณสถานเหลือเพยงส่วนฐานเท่านน ส่วนด้านทิศ
ตะวันตกของเมืองทุ่งยงเป็นกลุ่มวัดทีอยู่บนม่อน (ภูเขาขนาดเล็ก) คือ วัดพระแท่นศิลาอาสน์ เป็นพระ
่
ั้
ื
อารามสำคัญของเมืองทุ่งยงจวบจนถึงปัจจุบัน ด้านทิศตะวันออกของวัดพระแท่นฯ คือ วัดพระยน
ั้
ุ
ิ
พุทธบาทยคล เป็นที่ประดิษฐานพระพทธรูปศลปะสุโขทัย (ช่วงพทธศตวรรษที่ ๒๐) พระมณฑป และ
ุ
ุ
เจดีย์ ใกล้กับวัดพระยืนฯ มีวัดพระนอน ตั้งอยู่บนม่อนเขาอีกลูก อาณาบริเวณของเมืองทุ่งยั้งมีหนองนำ
้
ขนาดใหญ่ ๒ แห่ง ทางดานทิศตะวันออกเฉียงเหนอ เรียกว่า หนองพระทัย ทางด้านทิศตะวันตกเฉียง
้
ื
เหนือ เรียกว่า หนองพระแล และมีแหล่งน้ำที่สำคัญที่ไหลมาจากทางตอนเหนือคือ คลองแม่พร่อง
ี้
ั้
้
ั้
จากภูมิประเทศของเมืองทุ่งยงเป็นไปได้ว่าเมืองทุ่งยงนเป็นเมืองขนาดใหญ่ที่ใชควบคุม
ั้
ื
่
ี
ั
ทรพยากรสำคัญจากแม่นำนานไปยงเมืองศรสัชนาลัย ซึ่งจากตำนานเมืองทุ่งยงใน พงศาวดารเหนอ
ั
้
้
ั้
ระบุว่า ทุ่งยงคือกัมโพชนคร และทำเลที่ตงเมืองทุ่งยงที่อยทางตอนใตของเมืองลับแลทำให้ในตำนาน
ั้
ู่
ั้
ื
ั้
ี
เมืองลับแลเรยกเมืองทุ่งยงว่า ‘กลอม หรอ ขอม’ (คำว่ากลอม หรอ ขอม ภาษาเขมรแปลว่า ตอนใต/ ้
ื
ื
้
่
ทางใต) หาก เดินทางผ่านคลองแม่พรองไปทางทิศเหนอจนถึงแอ่งเมืองลับแล จะมีวัด (โบราณสถาน)
กระจายตลอดลำนำแม่พรองขึ้นไป ได้แก่ วัดนำใส วัดม่อนนางเหลียว วัดโพธิ์ล้อม วัดจอมแจ้ง (ราง)
้
่
้
้
วัดชัยจุมพล ดังนั้นลำน้ำแม่พร่องจึงเปรียบเสมือนเส้นเลือดสายหลักของวัฒนธรรมเมืองลับแล
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๓