Page 16 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 16

ั
                                                                                                     ั
                                                                     ื้
                                        ั
                                                    ี
                       เมื่อวัฒนธรรมของรฐสุโขทัย-ศรสัชนาลัยเข้ามาในพนที่แอ่งเมืองลบแล จากหลักฐานที่ชดเจน
                                                       ์
                                                          ี
               ที่สดคือการค้นพบ ศลาจารึกบริเวณวัดเจดียคีรวิหาร ตำบลฝายหลวง อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์
                                  ิ
                  ุ
                                                                   ์
                                                                                               ์
               เมื่อ วันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๓ โดย มหาอำมาตยตร พระยานครพระราม (สวัสดิ  มหากาย)
                                                                                                         ี
                                                                     ี
                                                                                ิ
               อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดอุตรดิตถ์ได้นำลงไปรกษาไว้ที่หอพระสมุดวชรญาณ กรงเทพฯ เมื่อ พ.ศ.
                                                                                          ุ
                                                          ั
                       2
                                           ึ
                                                           ั้
                                                                         ุ
                                              ิ
                                                 ์
                                                                              ึ
                                                         ่
               ๒๔๗๓  จนได้มีการอ่านจารกพมพเผยแพรครงแรกใน ประชมจารกสุโขทัยภาค ๘ พ.ศ. ๒๕๔๗
                                                             ้
                                                         ึ
               เรยกว่า หลักที่ ๓๑๙ จารึกเจดียพิหาร จารกสรางด้วยวัสดุหินทรายเนื้อปานกลาง ศาสตราจารย        ์
                                               ์
                 ี
               ดร. ประเสรฐ  ณ นคร ได้ให้ความเห็นว่าเป็นรปแบบอักษรในชวงพระญามหาธรรมราชาธิราช ที่ ๑
                          ิ
                                                                        ่
                                                          ู
               (ลือไท) แม้จะไม่มีการระบุศักราชที่ชัดเจนแต่จากข้อความส่วนตนที่บอกว่า “เขา (เข้า?) เสวยราชย์ใน
                                                                       ้
               เมืองปีเมสญ (มะเส็ง) แต่มาได้เจ็ดปีจึงก่อพระเจดีย...” มีการสราง “กุฎีพิหาร” แล้ว “จึงเวนทั้ง
                                                                ์
                                                                            ้
               กุฎีพิหารไร่นาสวนหมาก แต่เชียงแก้ว   ให้เป็นเจ้า” มี “พระบด พระพุทธรูป” และมีการ “ปลูก
                                                    3
                                                            ่
                                        ้
               ต้นพระศรีมหาโพธ” พรอมทั้งกัลปนาผู้คน ไรนาให้แก่วัด เมื่อตรวจสอบกับปีที่พระมหาธรรม
                                   ิ
               ราชาธิราช ที่ ๑ (ฦๅไทย) ขึ้นครองราชยที่เมืองสุโขทัยคือ พ.ศ. ๑๘๙๐ ปีกุน นบเพมมาอีก ๗ ปีตาม
                                                                                      ั
                                                                                          ิ่
                                                   ์
               ข้อมูลในจารกพบว่าตรงกับ ปีมะเส็ง คือ พ.ศ. ๑๘๙๖ จึงเป็นไปได้ว่าจารกหลักที่ ๓๑๙ จารกเจดีย   ์
                           ึ
                                                                                  ึ
                                                                                                   ึ
                                                                             ้
                 ิ
               พหาร น น่าจะสร้างขึ้นใน พ.ศ. ๑๘๙๖ ปีมะเส็ง ทำให้เห็นว่าพืนที่ของเมืองลับแลเป็นเมือง
                       ี้
               โบราณร่วมสมัยกับวัฒนธรรมสุโขทัย







                       2  การส่งมอบจารึกเจดีพิหารไปยังกรุงเทพฯ ในขณะที่พระยานครพระราม (สวัสดิ์  มหากายี) ดำรงตำแหน่ง
               เป็น สมุหเทศาภิบาลมณฑลพิษณุโลก (คนสุดท้าย) ช่วง พ.ศ. ๒๔๗๑ – ๒๔๗๖
                                                       ื
                                                                                      ี่
                                     ้
                       3  คำว่า “เชียงแกว” มาจากคำไทเหนือคอ “เชียง” หรือ “เวียง” ทหมายถึงพื้นที่ทมีแนวกำแพงล้อมรอบ +
                                                                           ี่
               “แก้ว” ควรหมายถึง พระรัตนตรัย ดังนั้น “เชียงแก้ว” จึงแปลรวมคำได้ว่า อาณาบริเวณของพระรัตนตรัยอันประเสริฐ
               สังเกตการใช้คำไทยเหนือในจารึกหลักนี้แสดงให้เห็นถึงชุมชนลับแลเป็นชุมชนชาวไทเหนือ (ยวน) ที่อยู่เหนือสุดของเขต
               แคว้นสุโขทัย ; ประชุมจารึก ภาคที่ ๘ จารึกสุโขทัย. หน้า ๙ – ๑๔.

                                          เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
                                                         หน้า ๔
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21