Page 174 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 174
้
้
ขังน้ำไว้แล้วไขไปในนาและสวน ในเวลาที่ตองการด้วยทางน้ำใหญ่ขนาด ๖ – ๗ วา ท่วงทีก็ทำคลายทำนบแต ่
ไม่ชันเหมือนทำลาด ๆ ใช้ไม้ซุงตีเป็นชั้น ๆ คล้ายบันได เพื่อให้น้ำไหลทีละน้อย ๆ เสด็จกลับมาประทับ ณ
์
พลับพลา แล้วเสด็จจากพลับพลาปรางคเที่ยวทอดพระเนตร วัดและภูมิสถานในแขวงนั้น คือ วัดม่อนปาง วัด
ทุ่งเอี้ยง ซึ่งมีพระครูบุญ เจ้าคณะแขวงอยู่วัดท้องลับแล วัดดอนสัก ฝายหลวง ฝายนี้ใหญ่กว่าฝายสมเด็จเจาซึ่ง
้
ี่
ทอดพระเนตร เมื่อก่อนเสวย วัดอยู่ตามทางทเสดจไป ซึ่งไม่ได้เสด็จเข้าทอดพระเนตรเพราะมีเวลาน้อย มีปะ
็
รำปลูก พระสงฆ์สวดถวายชยมงคล พวกราษฎรคอยเฝาอยู่วัดละมาก ๆ ตรัสสั่งให้หยุดรถทรงปฏิสันถาร และ
้
ั
ประทานของแจกเรื่อยไป
นอกจากนี้ยังมีกรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ และบุคคลอื่น ๆ มาเยือนเมืองลับแล อีกมากมาย
โดยเฉพาะพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ก็
เสด็จมาลับแล วันที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๑
เรื่องที่ ๒๑ บุพพการีของชาวเมืองลับแล
ท่านที่มีอำนาจสูงสุด เป็นผู้นำท้องถิ่น มีความสามารถฉลาดรอบคอบทางการปกครอง มีความรู้ทาง
ั
เกษตรกรรม พาณิชยกรรม เป็นนักเสียสละ เพื่อความสุขความเจริญของอนุชนทชาวลบแลได้กล่าวขวัญ ถึงอยู่
ี่
ทุกวันนี้ คือ คุณพระศรีพนมมาศ ผู้เป็นปฐมนายอำเภอลับแล ได้วางรากฐานการประกอบอาชีพให้ราษฎร
สร้างเหมืองฝายขึ้นทั่วเมืองลับแลมีฝายหลวง ฝายสมเด็จเจ้า (ฝายกู้) ฝายหิน ฝายนาเด่นอ้าย ฝายวังหัวดอย
ฝายหนองแม่อินทร์ เป็นต้น ขุดเหมืองส่งน้ำไปสู่ท้องนาทำการเพาะปลูกให้เป็นตัวอย่าง ปลูกผักกาด สวน
ทุเรียน ลางสาด มังคุด เงาะ ปลูกต้นตองกอง ปลูกอ้อยพื้นเมือง น้ำอ้อยทุ่งเกาะกลาง ซึ่งมีชอเสยงในสมัยนั้น
ี
ื่
สานเสื่อลำแพน ทำไม้กวาดดอกตองกง ปั้นหม้อ เป็นต้น เกียรติศักดิ์ก็ฟุ้งขจรไปทั่วเมืองไทย ทราบถึงพระโสต
ี
พระกรรณ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นอย่างด คุณพระศรีพนมมาศ นายอำเภอ มีความ
พยายามพัฒนาเมืองลับแลให้เจริญรุ่งเรือง ได้ย้ายที่ว่าการอำเภอออกจากม่อนจำศีลไปตั้งอยู่ที่ม่อนสามินทร์
หรือม่อนจุงจา ที่เห็นอยู่ปัจจุบันนี้
จากพระราชหัตถเลขา คราวเสด็จมณฑลฝ่ายเหนือ รัชกาลที่ ๕ ได้ทรงหล่อพระพุทธชินราชจำลอง
ขึ้นที่วัดพระศรีมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก เพื่อมาเป็นพระประธานในพระอุโบสถวัดเบญจมบพิตร ได้โปรดให้
้
ปลูกต้นโพธิ์ ตรงที่หล่ออีกต้นหนึ่ง ต่อต้นสามเส้าลงมาทางใต แล้วทรงหล่อพระเหลืออีกองค์หนึ่ง ซึ่งโปรดให้
เชิญมาประดิษฐานไว้บนม่อนจำศีล ให้เป็นที่สักการะของชาวเมืองลับแล
เจ้าพ่อคุณพระศรีพนมมาศ มองเห็นกาลไกลจึงได้ชวนข้าราชการและราษฎรย้าย เอาพระเหลอ
ื
ิ
(พระพุทธรูป) ที่ม่อนจำศีลไปประดษฐานไว้ที่น้ำตกแม่พูล และประดับตกแต่งวนอุทยานให้สวยงามเพื่อเป็นท ี่
นมัสการของอนุชนที่มาทัศนาจรทั่วไป ส่วนการศึกษา เจ้าพ่อคุณพระศรีพนมมาศก็ได้ประสานงานกับคณะสงฆ์
การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
หน้า ๒๔