Page 172 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 172
ิ้
เดินซัดเซพเนจรติดตามหาพ่อแม่ พบผลไม้ป่าก็กินพอประทังชีวิตไป จนไปพบคนที่ลี้ภัยด้วยกันก็พูดถามเขาลน
แข็งพูดไม่เป็นคำเสียแล้ว เขาก็เอาข้าวสุกตากแห้งให้อมแล้วก็เดินทางต่อไปถามเขาไปจนพบพ่อแม่
อนึ่งวัดมูล ตรงใต้วัดใหม่ฝายหลวง เป็นต้นวัดเดิมมาถึงปลายยุคอาณาจักรลานนาเกิดไฟไหม้วัดมูล
พุทธบริษัทจึงพากันย้ายไปสร้างขึ้นที่ดอยฟากทุ่งน้ำท่วมใช้ชื่อเดิมว่า วัดดอยมูล ได้ชื่อเพิ่มเติมมาอีกพยางค ์
หนึ่ง และก็ปล่อยที่วัดมูลให้เป็นร้างไป ต่อมาคราวข้าศึกม่าน เข้ายึดครองเมืองลับแลเพื่อจะปลอบขวัญ
ชาวเมืองลับแล พวกม่านก็สร้างวัดขึ้นตรงที่วัดมูลร้างให้ชื่อว่า วัดทับใหม่ ติดตั้งยกหงษ์ทองขึ้นไว้บนยอดเสา
เป็นสัญลักษณ์ของหงษาวดี ประเทศพม่า และในยุคพม่ายึดอำนาจครองเมืองลับแลอยู่นั้น พวกม่านเขาก็จะ
ิ
ั
ู
สร้างหงส์ทองไปตดไว้ที่วัดทุกวัด มองดแต่ผิวเผินก็สวยงามดแต่มันเป็นหนามแทงหัวใจ เมื่อกองทพไทยไดขับ
ี
้
ไล่พม่าออกไปแล้วชาวลับแลก็ปล่อยให้วัดทับใหม่เป็นวัดร้างอีก และก็ทำลายหงส์ทองทิ้งกันไปหมดท่วทุกวัด
ั
เพราะเกลียดชังพวกพม่ามาข่มเหงคะเนงร้าย
เรื่องที่ ๑๘ ความวิวัฒน์ของเมืองลับแล
ถิ่นทำมาหากินของชาวลับแล ทางทิศตะวันออกถึงแม่น้ำริดชายเขานานกกก ด่านนาขาม ไฮ่ฮ้า แม่
้
เฉย แต่เดิมมาก็บอกไปทำไร่ทำนาปลูกห้างอยู่เป็นครั้งคราว เมื่อหมดฤดูงานแล้วก็กลับเขาบ้าน นานเข้าก็เลย
ยกบ้านเรือนอยู่กันตามหัวไร่ปลายนา นานเข้าก็เป็นปึกแผ่นแน่นหนา เป็นหมู่เป็นตำบลขึ้น ชาวพายัพนิยม
เรียกว่า ลับแลน้อย แต่ชาวเมืองลับแลกันเองนิยมเรียกบ้านดังกล่าวนี้ว่า บ้านนอก ซึ่งโยกย้ายมาจากลับแล
หลวง ถือระเบียบประเพณีแบบแผนทั้งฝ่ายอาณาจักร และพุทธจักร ฉบับเดียวกันกับเมืองลับแลหลวงทุกอย่าง
เมืองลับแลเป็นดินแดนแห่งผลไม้หวาน สายธารน้ำใสสะอาดเจริญไปด้วยทรัพยากรธรรมชาต ิ
แวดล้อมด้วยขุนเขามาถึงสมัยกลางของกรุงรัตนโกสินทร์ เมืองลับแลเริ่มรู้จักของอาคันตุกะต่างแดนมาเยือน
ี่
อย่างไม่ขาดสาย แม้กระทั่งพระมหากษัตริย์และเชื้อพระวงศ์ชั้นผใหญ่ ซึ่งมีสมเด็จพระปิยมหาราช รัชกาลท ๕
ู้
ี
เสด็จมาเมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๓ ชาวลับแลมีความ ปิติยินดีมาก จัดต้อนรับเสด็จเป็นพิเศษ ราษฎรใจสิงห์เต็มเป่ยม
ั
่
่
ด้วยกุศลศรัทธานั้นคือ นายทองอิน ได้บริจาคทรัพย์สวนตวสร้างถนนตั้งแตลบแลไปถึงบางโพ ต่อมาเมื่อ พ.ศ.
ั
ุ่
้
๒๔๔๔ ทรงโปรดฯ ให้ย้ายศาลากลางเมืองพิชัยมาตั้งที่บางโพ แต่ให้เรียกว่าเมืองพิชัย ให้ยุบเมืองทงยั้งแลวยก
ฐานะลับแลขึ้นเป็นเมือง และให้ขึ้นตรงต่อเมืองพิชัย พระยาพิศาลคีรีได้ย้ายททำการเมืองทงยั้งมาตงทม่อนจำ
ั้
ี่
ี่
ุ่
ิ
ศีล ซึ่งเป็นเนินเขาเตี้ย ๆ ใกล้ทุ่งม่าน อยู่ที่ใจกลางเมืองลับแล พ.ศ. ๒๔๔๖ พะกาหม่อง หัวหน้าชนเผ่าเงี้ยวคด
ั
การกบฏขึ้นกับเจ้าพิริยะ น้อยเทพวงศ์ เจ้าผู้ครองนครเมืองแพร่ ก่อการจลาจลเข้ายึดเมืองแพร่ได้แล้วกรีฑาทพ
ไปตั้งค่ายที่บริเวณปางอ้อเหนือเขาพลึง เพื่อยกกองทัพลงมาตีเอาเมืองอุตรดิตถ์และเมืองลับแล
สมุหเทศาภิบาล ผู้สำเร็จราชการมณฑลพิษณุโลกได้มีคำสั่งให้พระยาศรีสุริยราชวราวัตร์ (โพธิ์ เนติโพธิ์) เจา
้
ุ่
เมืองอุตรดิตถ์ เกณฑ์ประชาชนเมืองอุตรดิตถ์ เมืองลับแล ให้จัดเป็นกองทัพ ประชาชน ยกไปขัดตาทัพที่ทง
การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
หน้า ๒๒