Page 167 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 167

ู้
                       ส่วนพระเจ้าคำลือ พระเจ้าคำแสน ได้รับสถาปนายกขึ้นเป็นพระราชบิดาของกษัตริย์ผให้กำเนิดเมือง
               ลับแลอยู่มาจนถึงอายุไขยเข้าวัยชราก็สิ้นชีพตักษัย เจ้าเมืองพร้อมกับประชากรได้สร้างศาลขึ้นที่ม่อนอาฮักษ์
               หลักเมืองสองหลังเชิญดวงวิญญาณขึ้นสถิตเพื่อขอให้เป็นเจ้าพ่อปกป้องรักษา คุ้มครองเมืองลับแล ให้ประชากร

                                                                ้
                                                                                                    ั่
               อยู่ร่มเย็นเป็นสุขตลอดมามีคนทรงทำหน้าที่รักษาป่วยไข้ไดสารพัดโรค ประชากรเคารพยกย่องนับถือทวเมือง
               ลับแล ปัจจุบันนี้ศาลเจ้าพ่อทั้งสองนั้นตั้งอยู่ที่บ้านคนทรง




               เรื่องที่ ๑๒  ชัยชนะสงครามของพระเจ้าฟ้าฮ่ำราชกุมาร


                       ประมาณ พ.ศ. ๕๒๕ ความเจริญรุ่งเรืองของเมืองลับแลก็เลื่องลือไปถึงพระโสตพระกรรณ

               พระมหากษัตริย์ขอมผู้กระหายสงครามหรือกษัตริย์หน้าเลือด มีความประสงค์จะเอาเมืองลับแลเป็นเมือง

               ลูกหลวง ยกกองทัพเข้าไปทางทุ่งยั้ง ทิศใต้ของเมืองลับแล พระเจ้าฟ้าฮ่ำราชกุมาร เจ้าเมืองลับแล ซึ่งเป็นเมือง
               เล็ก ๆ ประชากรก็มีน้อยก็เตรียมกองทัพยกไปตั้งค่ายรับอยู่ตรงที่วัดชัยจุมพล พระเจ้าฟ้าฮ่ำราชกุมารเปนแม่
                                                                                                      ็
                                                               ิ์
                                                                                                        ื
                                                                 ิ
               ทัพหน้ากรีธาทัพออกถึงเกาะกลางก็ร่ายมนต์อาคมอันศักดสทธิ์ อิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ให้เกิดเป็นแม่น้ำทะเล คอ
               ตรงที่ทุ่งทะเลปัจจุบันนี้ และเป่ามนต์ขลังไปถึงทุ่งทะเลนาค กองทัพขอมก็แตกกระจายว่ายน้ำเอาตัวรอดได ้
               บ้าง เป็นอาหารของนาคของจระเข้สัตว์น้ำไปบ้าง การทำสงครามก็ได้ชัยชนะ เมื่อข้าศึกศัตรูพ่ายแพ้ไปแลว
                                                                                                        ้
               พระเจ้าฟ้าฮ่ำราชกุมารก็ยกกองทัพกลับมาพักตรงที่วัดดอนชัย ชื่อสถานที่ที่กล่าวมานี้ยังเป็นสัญลักษณ์จนถึง

               ทุกวันนี้
                                                                          ี่
                       เจ้าเมืองบริจาคทรัพย์ในพระคลังหลวงออกสร้างวัดตรงสถานทสำคัญ ๒ วัด คือ วัดชัยจุมพล และวัด
                                                                                          ็
               ดอนชัย โปรดเกล้าฯ ให้ขุนคลังเป็นผู้ควบคุมการก่อสร้าง ส่วนพระเจ้าฟ้าฮ่ำราชกุมารก็เสดจขึ้นไปเฝาพระเจา
                                                                                                  ้
                                                                                                         ้
                                                                                                         ่
                                                                                                     ู
               พนธิราช พระเชษฐา องค์พระมหากษัตริย์พระนครนาคพันธ์สิงหนวัติโยนกชัยบุรีศรีเชียงแสน เพื่อกราบทลเลา
               เรื่องออกทำสงครามได้ชัยชนะต่อข้าศึกศัตรู ตั้งแต่ต้นจนอวสาน พระเชษฐาก็ชมความสามารถแลว
                                                                                                        ้
               พระราชทานพระบรมธาตุของพระพุทธเจ้าให้ ๓๒ องค์ แก่พระอนุชาเอาไปบรรจุในองค์พระสถูปเจดีย์ ให้
                                                                                                    ้
                                                                                             ั
                                                  ้
               ราษฎรชาวเมืองลับแลสักการะบูชาพระเจาฟ้าฮ่ำราชกุมาร นำพระบรมธาตุเสดจกลบถึงเมืองลบแลแลวก็ทรง
                                                                                    ั
                                                                                ็
               พระราชดำริว่า พระสถูปที่บรรจุพระบรมธาตุควรจะอยู่ที่สูง จึงไปสร้างองค์พระสถูปเจดีย์ไว้ทดอยใกล้กับวัด
                                                                                             ี่
               ดอนชัย ให้เรียกว่าพระธาตุดอนชัย เพราะสร้างเป็นที่ระลึกในการได้ชัยชนะสงคราม แต่ประชาชนชอบเรียกว่า
               ม่อนธาตุ จนเป็นที่รู้จักของปวงชนทั่วไป












                                             การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
                                                        หน้า ๑๗
   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172