Page 162 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 162

หน้ามีความเจริญรุ่งเรืองขึ้นเป็นลำดับ เวลาก็ผ่านมา ๗ ปี เจ้าคำลือ กับเจ้าคำแสนก็ชวนกันกลับขึ้นไปเฝ้า เมื่อ

               ตั้งตัวติดขึ้นแล้ว พระเจ้าเรืองธิราชองค์พระมหากษัตริย์พระนครนาคพันธ์สิงหนวัติโยนกชัยบุรีศรีเชียงแสน

               รัชกาลที่ ๒๑
                                                                                                    ์
                                                                                                      ่
                                                                   ั
                       เล่าเรื่องที่ได้พาราษฎรไปก่อร่างสร้างตัวอยู่ในหุบเขาลบแล ถวายองค์พระมหากษัตริย์ พระองคทานก็
               ทรงพอพระทัยรับเป็นสาธารณูปถัมภ์ เจ้าคำลือ กับเจ้าคำแสน ก็ได้โอกาสขอรับวัฒนธรรม ประเพณีธรรม
               ระเบียบแบบแผนต่าง ๆ และพระพุทธศาสนา ก็ได้อาราธนาพระภิกษุสงฆ์เมืองเชียงแสน ๖ รูป พร้อมด้วย


               คัมภีร์พระไตรปิฎกเอาขึ้นหลังช้างออกเดินทางรอนแรม เดือนกว่า ๆ ก็ได้บรรลุถึงเมืองลับแล




               เรื่องที่ ๖  ตั้งวัดเก้าเง้ามูลละศรัทธา


                       เจ้าแคว้นและเจ้าหลัก ทั้งสองท่าน เป็นผู้นำราษฎรสร้างวัดขึ้นตรงที่โรงเรียนประชาบาล วัดใหม่
               ปัจจุบันนี้ชื่อว่า วัดมูล ถ้าจะเรียกให้เต็มความหมายก็เรียกว่า วัดเก้าเง้ามูลศรัทธา ประชาชนชาวเมืองลับแล

               ซึ่งเป็นผู้นับถือพระพุทธศาสนามาตั้งแตบรรพบุรุษ จึงมีศรัทธาประสาทะเลื่อมใสเอาลูกเอาหลานเข้าบรรพชา
                                                ่
               อุปสมบท เพื่อให้ศึกษาเล่าเรียนหนังสือพื้นเมืองภาคพายัพ และศึกษาวิชาความรู้ทางไสยศาสตร์ แพทยศาสตร์
               เวทย์ศาสตร์ และวิชาความรู้เบ็ดเตล็ดอื่น ๆ ตามสมควร เมื่อลาสิกขาจากความเป็นสามเณรมีศักดิ์ เรียกว่า

               น้อย ลาสิกขาจากความเป็นพระภิกษุมีศักดิ์เรียกว่า หนาน (ทิด) ออกไปประกอบอาชีพอาชีพกสิกรรม ทำนา

               ทำไร่ ทำสวน สุภาพบุรุษจะต้องฝึกหัดจักสาน ฟั่นเชือกฟั่นพวน สุภาพสตรีต้องฝึกหัด ทอหูก ปั่นฝ้าย เก็บก้อน

               เย็บปัก ถักร้อย บางคนก็มีฝีเมือประณีตบรรจงดีเป็นพิเศษ
                       อนึ่งเจ้าคำลือมีบุตรสาวชื่อ สุมาลี เจ้าคำแสนมีบุตรสาวชื่อ สุมาลา ทั้งสองสาวมีรูปกายศุภลักษณะ

                                                                                       ่
               เบญจกัลยาณีอีกทั้งกิริยามารยาทก็งดงาม ศุภวาจาอ่อนหวาน สติปัญญา เฉลียวฉลาดชางคิดประดษฐ ทอหูก
                                                                                                 ิ
                                                                                                   ์
               เก็บก้อน เย็บปักถักร้อยใหม่แปลกแหวกแนวขึ้น อย่างสวยสดงดงาม วิจิตรพิสดาร นั้นก็คือ ผ้านุ่ง ซิ่นตีนจก
               ซิ่นมุกไหม หน้าหมอนหก หน้าหมอนแปด ถุงกุลา ผ้าห่มหัวเก็บ ผ้าเสื้อติดลูกกระดุมเงิน เจ้าหลักกับเจาแคว้น
                                                                                                   ้
               ทั้งสองท่านก็ชวนกันเอาผลงานของลูกสาว นำขึ้นไปถวายพระเจ้าเรืองธิราช องค์พระมหากษัตริย์พระนครนาค
               พันธ์สิงหนวัติโยนกไชยบุรีศรีเชียงแสน พระองค์ได้ทอดพระเนตรของที่นำมาถวายนั้นก็สนพระทัยเป็นพิเศษ

                                                                 ้
               เพราะการทอผ้าพื้นเมืองที่เคยใช้มานั้นไม่ประณีตเหมือนที่เจาคำลือ เจ้าคำแสน นำมาถวาย จึงซักถามถึงชางผ ู้
                                                                                                      ่
               ประดิษฐขึ้นใหม่ อย่างสวยสดงดงามวิจิตรพิสดาร เจ้าเมืองลับแลทั้งสองท่านก็ตอบว่า บุตรสาวเป็นผประดษฐ ์
                                                                                                  ู้
                       ์
                                                                                                       ิ
               ขึ้นเอง โดยไม่ได้ไปเรียนจากที่อื่นเลย และก็สอบถามถึงคุณสมบัติอย่างอื่นอีกจนละเอียดถี่ถ้วน ท่านทั้งสองนั้น
               ก็ถวายคำตอบตามความเป็นจริงทุกประการ องค์พระมหากษัตริย์มีพระดำริว่าลับแลนั้นก็เป็นเมืองท    ี่

               เจริญรุ่งเรืองเมืองหนึ่ง สมควรจะมีพระมหากษัตริย์ครองเมือง จึงขอบุตรสาวของเจ้าคำลือและเจ้าคำแสนทั้ง
               สองสาวให้กับพระเจ้าฟ้าฮ่ำราชกุมาร ราชโอรส เมื่อตกลงกันแล้วโหรหลวงก็หาฤกษ์งามยามดีได้แล้วก็นัด



                                             การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
                                                        หน้า ๑๒
   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167