Page 161 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 161

เมืองเชียงแสนอพยพหลบหนี ออกจากบ้านใหญ่เมืองหลวง ไปให้พ้นจากข้าศึกสงคราม ว่าตู๋ข้าจะพาพวกคิง

               เจ้าทั้งหลายไปตั้งหลักปักฐานอยู่ในถิ่นที่สงบสุข ใครผู้ใดจะไปด้วยก็ให้เตรียมเสบียงอาหาร สัตว์พาหนะพืช
                                                ั
               พันธุ์ของปลุกของฝังพอที่จะนำเอาติดตวไปได้ ก็เตรียมให้พร้อมไว้ แล้วก็นัดวันอพยพออกเดินทางมีราษฎรที่
                                                                                                     ั
                                                                                                        ้
               ตัดสินใจได้เพียงซาวกว่าครอบครัวนับทั้งลูกเด็กเล็กแดงประมาณ ๗๐ กว่าคน เตรียมเสบียงอาหารขึ้นหลงชาง
               หลังควายพร้อมแล้วถึงฤกษ์งามยามดี ก็ไปชุมนุมกันที่ปราสาทปู่พญาแก้ววงษ์เมืองเพื่อเชิญผีปู่เสด็จติดตาม

               คุ้มครองรักษา เดินทางรอนแรมไปด้วย

                       อนึ่งประชาชนชาวเมืองเชียงแสน เคารพนับถือพระเสื้อเมืองเป็นที่พึ่งมาตั้งแต่บรรพบุรุษจะทำ
               กิจกรรมอันใดก็จะต้องเอาผีปู่ (เจ้าพ่อ) ออกหน้าปู่พญาแก้ววงษ์เมืองนั้น ได้แก่อดีตองค์พระมหากษัตริย์ พระ
                                                                                                ิ้
               นครนาคพันธ์สิงหนวัติโยนกชัยบุรีศรีเชียแสน รัชกาลที่ ๑๓ พระองค์ ท่านมีบรมเดชานุภาพมาก สนพระชนม์
               ไปแล้ว พสกนิกรก็สร้างปราสาทเชิญดวงวิญญาณเสด็จขึ้นประทับอยู่ เพื่อคุ้มครองรักษาราษฎร ผู้ใดมีทุกข์มี

               ร้อนก็เอาหมากเอาคำพลูใบ ไปขึ้นแล้วอ้อนวอนให้ปู่พญาแก้ว ช่วยขจัดปัดเป่าทุกข์โศกโรคภัย ให้ออกไป
               หายไป คณะอพยพมีหนานคำลือ หนานคำแสนได้เชิญปู่เสด็จติดตามคุ้มครองรักษา แล้วก็พากันออกเดินทาง

               จากเมืองเชียงแสน ขึ้นดอยลงห้วย พักรอนแรมไปเป็นระยะ ๆ แต่ว่าไม่ต้องกลัวว่าผีป่าผีดงจะมารังแก มั่นใจ

               อยู่ในอิทธิพลอิทธิฤทธิ์ของปู่พญาแก้ว และหนานทั้งสองนั้นก็มีเวทย์มนต์อาคมศักดิ์สิทธิ์มาก การเดินทางก็
               ปลอดภัย เดือนกว่า ๆ ก็บรรลุถึงหาดงั่ววังแฟน (อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่) หนานผู้เป็นหน้าก็พาคณะตรวจ

               ภูมิลำเนา ในถิ่นนั้นก็ยังไม่เป็นที่พอใจก็พากันออกเดินทางต่อขึ้นดอยปรางป่าคารอนแรม ขึ้นดอยลงห้วยอีก

               หลายลูกก็ข้ามดอยลงมาถึงท้องที่ลับแล

                       ราษฎรทุกคนและหนานผู้เป็นหัวหน้า ก็ชอบภูมิลำเนาในท้องที่ลับแลเพราะเป็นที่ร่มเย็นสายธารน้ำใส
                                                                       ุ
                                                                                                ้
               สะอาด จึงตกลงกันเริ่มลงหลักปักฐานตอนแรก ๆ พวกเสือหมีผีป่าดร้ายก็ไม่ค่อยจะยอม แต่ก็จะตองยอมพ่าย
               แพ้ต่ออิทธิพลของปู่พญาแก้ววงษ์เมือง และคาถาอาคมมนต์ขลังของหนานคำลือ หนานคำแสน ราษฎรก็เริ่ม
               แผ้วถางไร่ สวน นา เพาะปลูกข้าวไร่ ข้าวฟ่าง ข้าวโพด ถั่ว งา พริก มะเขือ มะเต้า (แตงโม) มะแตงหน่อม

               (แตงไทย) ฝ้าย หอมแย้ และอย่างอื่นพืชผลก็งอกงาม ข้าวน้ำอาหารอุดมสมบูรณ์ยิ่ง ๆ ขึ้น ทุก ๆ ป  ี



               เรื่องที่ ๕  การปกครองราษฎร


                       คณะอพยพเข้าสู่ท้องถิ่นลับแล ได้เริ่มตั้งบ้านเรือนขึ้นแห่งแรก ตรงที่บ้านเชียงแสนหมู่ที่ ๑
                                              ์
                                                                                                         ้
                                                ิ
                                                                                         ื
               ตำบลฝายหลวงชื่อบ้านเป็นสัญลักษณเดม ราษฎรก็พร้อมใจกันยกย่องแต่งตั้งให้หนานคำลออยู่ในตำแหน่งเจา
                                                       ่
               แคว้น หนานคำแสนอยู่ในตำแหน่งเจ้าหลักขึ้นตอเจ้าแคว้น  ประชาชนผู้ใดมีทุกข์มีร้อนก็ต้องร้องทุกข์ต่อเจ้า
               หลัก เมื่อไม่สำเร็จก็ส่งเรื่องถึงเจ้าแคว้นถือว่าเป็นศาลสูงสด ก็เป็นอันว่าสำเร็จเรียบร้อย การบำบัดทกข์สขยาม
                                                                                                     ุ
                                                                                                 ุ
                                                              ุ
                                                                                                        ่
                                                  ี่
               เจ็บไข้ เจ้าคำลือและเจ้าคำแสนก็ทำหน้าทหมอน้ำมนต์ หมอยา หมอดูเคราะห์โศกโรคภัยต่าง ๆ หมอเข้าข้อตอ
                                                                                                      ุ
               กระดูก หมอเรียกขวัญทำพิธีไดทกอย่าง การปกครองประชาราษฎรก็ไดรับความร่มเย็นเป็นสขเสมอกันทกทว
                                                                          ้
                                          ุ
                                         ้
                                                                                                         ั่
                                                                                            ุ
                                             การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
                                                        หน้า ๑๑
   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166