Page 164 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 164
มีกำแพงเวียง ป้อมปราการ หอรบ ประตูชัย ราวในพุทธศตวรรษที่ ๒๔ นักปราชญ์ชาวเมืองลับแล ผู้สนใจ
ประวัติศาสตร์เมืองลับแล ขุดตรงที่ข้างคูค้นพบซากศพคนร่างใหญ่สูงทรงเครื่องต้น เครื่องทรงของ
พระมหากษัตริย์โบราณ เปิดดินออกแล้วเห็นแจ่มแจ้งชัด ประชาชนหลั่งไหลกันมาดู เมื่อเอามือเข้าไปจับก็เหลว
เละเป็นดินไปหมด
เรื่องที่ ๘ เมืองลับแลในยุคต้นขึ้นตรงต่ออาณาจักรโยนก
่
การปกครองเมืองลับแลในยุคต้นนั้น แบ่งหมู่บ้านออกเป็นหลักแต่ละหลักมีหัวหน้าปกครองหนึงคน
้
เรียกตามตำแหน่งว่า เจ้าหลัก ขึ้นกับ เจ้าแคว้น เจ้าแคว้นขึ้นกับเจ้าเมือง อำนาจสิทธิ์ขาดอยู่กับเจาเมืองแตผ ู้
่
เดียว เทียบได้กับผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เมืองลับแลขึ้นตรงต่ออาณาจักรโยนก ตำนานทางภาคพายัพ
ได้พรรณนาไว้ว่าอาณาจักรโยนกมีเวียงอยู่ ๔ เวียง คือ
๑. เวียงโยนกชัยบุรีศรีเชียงแสน ปัจจุบันเปลี่ยนเป็น อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
๒. เวียงชัยนารายณ์ ปัจจุบันเปลี่ยนเป็น อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่
๓. เวียงชัยปราการ ปัจจุบันเปลี่ยนเป็น อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
๔. เวียงสี่ตวง ปัจจุบันเปลี่ยนเป็น อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย
ี
็
ซึ่งมีพระนครนาคพันธ์สิงหนวัติโยนกชัยบุรีศรีเชยงแสน เป็นนครหลวง พระเจ้าสิงหนวัติ เปนปฐมกษัตริย์แห่ง
ราชวงศ์สิงหนวัติ มีพระมหากษัตริย์สืบราชวงศ์ ติดต่อกันมาถึง ๔๖ รัชกาล
อนึ่งเจ้าคำลือ และเจ้าคำแสน บิดาผู้ให้กำเนิดเมืองลับแล ซึ่งมีเชื้อสัญชาติสืบต่อมาจากตระกูลกษัตริย์
เวียงโยนกชัยบุรีศรีเชียงแสน ย่อมมีความสำนึกรักชาติ รักตระกูลเป็นพื้นฐาน เมืองลับแลได้ถือกำเนิดเกิดขึ้นใน
ี
ิ
้
รัชสมัยพระเจาเรืองธิราช รัชกาลที่ ๑๒ เป็นพระมหากษัตริย์ ครองนครนาคพันธ์สิงหนวัตโยนกชยบุรีศรีเชยง
ั
แสน ได้ส่งราชโอรสมาครองเมืองลับแล เป็นส่วนหนึ่งในอาณาเขตทิศใต้ของอาณาจักรโยนก นับเป็นยุคต้นของ
เมืองลับแลซึ่งติดต่อกับอาณาจักรละโว้ อนิจจังความไม่เที่ยงต่อมาอาณาจักรโยนกก็เปลี่ยนเป็นอาณาจกรลาน
ั
นานไทย
เรื่องที่ ๙ ปฐมเจดีย์แห่งเมืองลับแล
ชาวเมืองลับแลนับถือศาสนาพุทธ เป็นมรดกที่ตกทอดมาจากบรรพบุรุษจึงไม่หวั่นไหวเอนเอียงไปถือ
ศาสนาอื่นอย่างเด็ดขาด ประมาณ พ.ศ. ๕๑๙ พระเจ้าฟ้าฮ่ำราชกุมาร เสด็จขึ้นไปกราบถวายบังคมขอ
ุ
้
พระราชทานแบ่งพระบรมสารีริกธาตของพระพุทธเจา จากพระเจ้าพนธิราช พระเชษฐา องค์พระมหากษัตริย์
พระนครนาคพันธ์สิงหนวัติโยนกชัยบุรีศรีเชียงแสน พระเชษฐาก็ได้พระราชทานแบ่งพระบรมสารีริกธาตุจาก
การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
หน้า ๑๔