Page 190 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 190

เรื่องที่ ๒ กำเนิดวัดเก้ามูลศรัทธา วัดแห่งแรก


                       เมื่อเจ้าแคว้นและราษฎรเดินทางถึงเมืองเชียงแสนแล้วก็ได้เข้าเฝ้าพระเจ้าเรืองธิราช กษัตริย์องค์ท  ี่

               ๒๑ แห่งโยนกนคร ได้กราบทูลถึงความเป็นมาในการอพยพ และความเป็นอยู่ของราษฎรที่ไปตั้งถิ่นฐานให้ทรง

               ทราบ พร้อมกับได้ถวายของต่าง ๆ ที่นำมาด้วยแก่พระองค์ และขอพระราชทานพระสงฆ์ และพระไตรปิฎก
               กลับไปเมืองลับแลด้วย พระเจ้าเรืองธิราชทรงสนพระทัยเป็นอย่างยิ่งจึงให้ศีล ให้พร ขอให้ราษฎรของเจ้าแคว้น

                                                                                                      ้
               อยู่เย็นเป็นสุข พร้อมกันนั้นได้พระราชทานพระสงฆ์จำนวน ๖ รูป พระธรรม พระไตรปิฎก และเครื่องใชสอย
               เกี่ยวกับศาสนพิธี มอบให้หนานคำลือเจ้าแคว้นนำกลับไปเมืองลับแลต่อไป
                                                                                                        ้
                       หนานคำลือกราบขอบพระทัยและทูลลานำพระสงฆ์ และราษฎรกลับไปครั้นถึงเมืองลับแลแลว
               ราษฎรก็ดีใจช่วยกันสร้างวัดขึ้นเป็นแห่งแรกชอว่า “วัดเก้ามูลศรัทธา” (คือวัดใหม่ ตำบลฝายหลวง ในปัจจบัน
                                                                                                       ุ
                                                    ื่
               อาคารเดิมอยู่ตรงบริเวณสนามโรงเรียนซึ่งชำรุดหักพังลงหมดแล้ว) ให้เป็นที่พำนักแก่พระสงฆ์และเป็นท ี่
               ประกอบศาสนกิจตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา





                       เรื่องที่ ๓ กำเนิดซิ่นตีนจกและงานประดิษฐ์ฝีมือ

                                                      ื่
                       ต่อมาเจ้าแคว้นได้กำเนิดธิดาคนหนึ่งชอ สุมาลี เจ้าหลักก็ให้กำเนิดธิดาเช่นกันชื่อ สุมาลา ทงสองสาว
                                                                                                  ั้
                                                                                                    ั
               มีรูปร่างหน้าตาสวยงาม กิริยามารยาทเรียบร้อย เข้าลักษณะเบญกัลยาณี สติปัญญาเฉลียวฉลาดมีอุปนิสยชอบ
                                                                                                 ื
               ในทางเย็บปักถักร้อย ประดิษฐ์งานฝีมือต่าง ๆ สามารถคิดค้น และริเริ่มประดิษฐ์ทอหูกพิสดารขึ้นคอทอผาซิ่น
                                                                                                      ้
                                                                                                     ั
               ตีนจก ซิ่นมุกไหม หน้าหมอนหก หน้าหมอนแปด ถุงกุลา ผ้าห่มหัวเก็บ ผ้าเสื้อติดกระดุม ฯลฯ และยังชกชวน
               อบรมสั่งสอนให้หญิงสาวทั่วไปรู้จักทำกันให้แพร่หลายทั่วไปด้วย ยังความปลาบปลื้มใจแก่เจ้าแคว้นและเจา
                                                                                                         ้
                                                                                                       ์
               หลักเป็นอันมาก (ชื่อเสียงของสิ่งประดิษฐ์เช่นซิ่นตีนจกยังปรากฏอยู่ทุกวันนี้)  ประสงค์จะนำสิ่งประดิษฐไป
               ถวายแด่พระเจ้าเรืองธิราช เจ้าแคว้นจึงรวบรวมสิ่งประดิษฐ์ที่งดงามนานาชนิด พร้อมด้วยนางสุมาลี สุมาลา

                                                                                    ิ
                                                                                      ์
               ธิดาทั้งสองออกเดินทางไปยังโยนกนครอีกครั้งหนึ่ง เมื่อถึงราชธานีจึงได้นำสิ่งประดษฐต่าง ๆ เข้าเฝาถวายตอ
                                                                                                 ้
                                                                                                        ่
                                                                                           ี
               พระเจ้าเรืองธิราช พระองค์ได้ทอดพระเนตรแลวทรงพอพระทัยเป็นอันมาก ตรัสชมเชยในฝมือ และสอบถาม
                                                      ้
               ถึงช่างประดิษฐ์ เจ้าแคว้นก็กราบทูลความจริงว่า เป็นฝีมือของธิดาของข้าพระพุทธเจ้ากับธิดาของเจ้าหลก
                                                                                                        ั
                        ึ
               พระองค์จงรับสั่งให้นำช่างทั้งสองคือ นางสุมาลี และนางสุมาลา เข้าเฝ้าเพื่อดูตัวสักหน่อย เจ้าแคว้นดีใจเป็น
               ที่สุด รับปกว่าจะรีบพาเข้าเฝ้าในวันรุ่งขึ้น








                                             การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
                                                        หน้า ๔๐
   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195