Page 193 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 193
เรื่องที่ ๓ ด้านการทหาร
่
เดิมมีชาวขอมตั้งเมืองอยู่ที่บริเวณบ้านทุ่งยั้งในปัจจุบันนี้ มีชื่อว่า “กัมโพชนคร” ซึ่งเป็นเมืองหน้าดาน
ของขอม มีทหารและมีป้อมปราการคือเวียงเจ้าเงาะปรากฏอยู่จนทุกวันนี้ เจ้าอู้ครองนครกัมโพชนครปรารถนา
จะได้เมืองลับแล เป็นเมืองขึ้นต่อขอม จึงยกกองทพมาเพื่อจะบังคับให้เมืองลับแลตกเป็นเมืองขึ้น แต่เจ้าฟ้า
ั
้
ฮ่ามกุมารไม่ยอม กลับยกกองทัพไปชุมพลเพื่อต่อสู้ บ้านที่ชุมพลนี้ ต่อมาเรียกว่า บ้านชัยชุมพล เจาฟ้าฮ่ามได ้
นำทัพหน้าเดินทางไปถึงบ้านเกาะกลางก็ปะทะกับทัพขอม จึงเกิดการรบพุ่งกันขึ้น เจ้าฟ้าฮ่ามก็ทรงบวงสรวง
่
เทพยดาให้ช่วยคุ้มครองบ้านเมือง ก็เกิดนิมิตรมหัศจรรย์บังเกิดเป็นฝนตกลงทามกลางทหารขอมอย่างหนักจน
เกิดน้ำท่วมประดุจทะเล (ซึ่งต่อมาเรียกว่า บ้านนาทะเล) กองทัพขอมถูกฝนตกน้ำท่วมติดต่อกันหลายวันทำให้
้
ไพร่พลระส่ำระสาย เจ้าฟ้าฮ่ามกุมารก็เข้ารบพุ่งจนได้ชัยชนะ และไดฉลองชัยชนะที่บ้านดอนต่อมาเรียกว่า
บ้านดอนชัย ซึ่งทั้งบ้านดอนชัยและบ้านชุมพล พระองค์ได้สร้างวัดไว้เป็นที่ระลึกทั้งสองแห่ง กองทัพขอม
ึ
ิ
้
หลังจากพ่ายแพ้ต่อเจาฟ้าฮ่ามในครั้งนั้นแล้วก็มีสภาพอ่อนแอลงไม่สามารถคดอ่านไปทำศกรบกวนอาณาจกร
ั
เมืองลับแลได้อีกต่อไป
เจ้าฟ้าฮ่ามกุมารได้ครองเมืองลับแลอยู่เป็นระยะเวลาอันยาวนาน ทำนุบำรุงบ้านเมืองเจริญก้าวหน้า
ทั้งฝ่ายอาณาจกรและพุทธจกร ราษฎรได้มาความร่มเย็นเป็นสขทั่วหน้า จนชราภาพลง และถึงแก่อสญกรรม
ุ
ั
ั
ั
ยังความเศร้าโศกอาลัยรักของอาณาประชาราษฎร์เป็นอันมาก จึงได้พร้อมใจกันนำอัฐิของพระองค์ท่าน
ื
ุ
ประดิษฐานไว้ ณ ม่อนอารักษ์เพื่อเป็นที่สักการบูชาของประชาชนทั่วไป ประชาชนเมื่อมีความทกข์เดอดร้อน
ประการใดก็ได้ไปกราบไว้บอกกล่าวก็มักสำเร็จผลตามประสงค์ ยังคงเชื่อถือกันมาจนทุกวันนี้
เรื่องที่ ๔ กำเนิดอนุสาวรีย์เจ้าฟ้าฮ่ามกุมาร
เมื่อข้าพเจ้าได้รับแต่งตั้งให้มาดำรงตำแหน่งนายอำเภอลับแล คนที่ ๒๐ เมื่อวันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ.
๒๕๒๖ ได้มีโอกาสไปนมัสการศาลเจ้าฟ้าฮ่าม เห็นว่ามีสภาพทรุดโทรมและไม่สง่างามสมกับเป็นปฐมผู้ครอง
ู
เมืองลับแล จึงปรารภว่าหากมีบุญบารมีเสริมส่งจะสร้างอนุสาวรีย์ให้สง่างามเพื่อยกย่องเทอดทนคณงามความ
ุ
ดีของพระองค์ท่าน และเพื่อเป็นสถานที่ท่องเที่ยว เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวต่อไป จึงได้ประชุมหารือกับกำนัน
ผู้ใหญ่บ้าน ประชาชน เพื่อหาวิธีก่อสร้าง เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๒๖ ขณะประชุมเรื่องนี้อยู่ ก็เกิดฝนตก
ขึ้นบริเวณที่ประชุมอย่างหนักจนน้ำฝนรั่วเปียกโต๊ะประชุม ประมาณ ๕ นาที ก็หยุดตก และฝนก็ตกเฉพาะ
บริเวณที่ประชุมเท่านั้น ที่อื่นก็ไม่ตก เป็นที่มหัศจรรย์ใจแก่ผู้เข้าร่วมประชุมทุกคน เสมือนเป็นนิมิตรว่า
วิญญาณเจ้าฟ้าฮ่ามรับรู้ในการริเริ่มก่อสร้างครั้งนี้และอนุโมทนาด้วย การก่อสร้างจะต้องใช้เงินงบประมาณ
ั
่
๑๗๐,๐๐๐ บาท โดยไม่ใช้งบประมาณของทางราชการแตอย่างใด ที่ประชุมมีมติให้หาทุนโดยอาศยบารมีของ
์
พระองค์เป็นหลัก คือให้จัดพิมพ์เหรียญรูปของพระองคท่านขึ้นเป็นทุนก่อสร้าง อำเภอจึงได้จัดพิมพ์เหรียญขึ้น
การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
หน้า ๔๓