Page 264 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 264
64
ุ
ั
ถูกต้องตามฤดูกาล น้ำท่าอุดมสมบูรณ์ และคอยดูแลสารทุกข์สขของชาวลบแลง และเป็นการจดพิธีขึ้นเป็น
ั
ครั้งแรกของตำนานพระเจ้ายอดคำทิพย์
้
ั
จากเหตุการณ์ตอนนี้ไดบอกว่า พ.ศ. ๒๑๓๓ นั้นจากฉบับที่ ๑ และฉบับที่ ๒ มีความลกลนของข้อมูล
ั่
ชื่อบุคคล และเหตุการณ์มีความเพิ่มเติมในฉบับที่ ๑ ในส่วนของการละเล่น / มหรสพ จึงไม่อาจจำแนกไดว่า
้
ฉบับใดถูกเขียนขึ้นก่อน
อีกทั้งการแต่งตั้งพระยา (พญา) พิชัย ขึ้นมาครองเมืองลับแลงไชยอีกทั้งนั้น ตามพระราชพงศาวดาร
กรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ได้บอกว่า “สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวดำรัสว่า ซึ่งเราทิ้งเมืองฝ่ายเหนือ
เสีย เลิกครอบครัวลงมานั้น ก็หาสิ้นทีเดียวไม่ ครั้งนี้ศึกหงสาวดีก็ถอยกำลังลงแล้วเถิงมาตรว่าจะมีมาก็ไม่เกรง
เราจะบำรุงเมืองนี้ให้เป็นเกียรติยศไว้ตราบเท่ากัลปาวสาน จึงสั่งให้พระยาชัยบูรณ์เป็นเจ้าพระยาสุรศรีครอง
เมืองพิษณุโลก , ให้พระศรีเสาวราชไปรักษาเมืองสุโขทัย, ให้พระองค์ทองไปรักษาเมืองพิชัย, ให้หลวงจ่าไป
รักษาเมืองสวรรคโลก, บรรดาหัวเมืองฝ่ายเหนือทั้งปวงก็ให้เจ้าเมืองกรมการแต่งไปเรียกร้องรวบรวมไพร่พล
65
ุ
ซึ่งแตกฉานซ่านเซ็นอยู่ป่าดงนั้นทกหัวเมือง” เป็นการแต่งตั้งขุนนางขึ้นมาปกครองหัวเมืองเหนือขึ้นอีกครั้ง
66
หลังจากศึกสงครามยุทธหัตถีของสมเด็จพระนเรศวรฯ กับพระมหาอุปราชา (ของพม่า) เมื่อ พ.ศ. ๒๑๓๖
เป็นระยะเวลากว่า ๘ ปี เมื่อพิจารณาถึง พ.ศ. ๒๑๓๓ อันเป็นปีที่สมเด็จพระนเรศวรฯ ขึ้นครองราชย์นั้น ยังไม่
่
มีการแตงตั้งพระยา (พญา) พิชัย มาปกครองเมืองพิชัย และเป็นไปได้ว่าในขณะนั้นเมืองทุกเมืองยังร้างอยู่ ผู้คน
คงมีอยู่บ้างแต่กระจัดกระจายอยู่ตามป่า
เนื้อความที่ ๓๕
้
เถิงปีรวายสัน จุลศักราชได้ ๑๐๑๘ ตัว นับพุทธศาสนาล่วงได้ ๒๑๙๙ ปีข้าว น้ำท่าบัวรบูรพรอมหมาก
ิ
ไม้หน่วยก้อมงามตา ฝนแสนห่าบอกฟ้าตกใต้เมืองฅน พระญาจอมธัมม์ตนวิเสดเจ้าพระนารายตนหลวง
กุมเวียงไธยใต้สรีโยธิยา ริบจากพระญาศรีสุธัมมะราชาผู้อาว ตนน้องพระญาผาสาทฅำผู้พ่อ
เป็นการกล่าวถึงในปีจุลศักราช ๑๐๑๘ หรือ พ.ศ. ๒๑๙๙ สมเด็จพระนารายณ์ได้ขึ้นครองราชย์สมบัต ิ
็
ิ
กรุงศรีอยุธยา โดยการชิงราชสมบัตจากสมเดจพระศรีสุธรรมราชา ผู้เป็น “อาว” คือ น้องชายของสมเดจพระ
็
เจ้าปราสาททอง พระราชบิดา เหตุการณ์นี้ตรงกับในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา
64 ดาบฟ้า ไชยลับแลง และภัทรภูมินทร์ ชัยชมภู, ๒๕๖๑, หน้า ๑๐.
65 รวี สิริอิสสระนันท์ (บรรณาธิการ), พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และพระราช
ิ์
พงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิต, คำให้การชาวกรุงเก่า, คำให้การขุนหลวงหาวัด, นนทบุรี : ศรีปัญญา,
๒๕๕๓, หน้า ๑๘๔.
66 ตรงใจ หุตางกูร, ๒๕๖๑, หน้า ๑๖๓.
การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
หน้า ๑๑๔