Page 263 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 263

หอเจ้าตนอารักษ์หลักเวียง แลแป๋งผามโองคำเจ้าติโลกะราชาฟ้าฮ่ามออกข่วงสมโภชไคว่ครบ ๓ วัน ชาว

                 ฟ้อน  ชาวเหล้น ชาวยิงชาวปี ม่วนงันค่ำเช้าชุมื้อ ก็สมเร็ดดั่งใจหมาย ก็มีในวันเดือน ๖ เหนือ เป็ง ๑๓
                 ค่ำ นับวันเจ้าพญาตนเกล๊าเข้าได้เวียงนั้น ชะแล



                 (ฉบับที่ ๒)

                 ขึ้นปีกดเม็ด  จุลศักราชได้ ๙๕๒ ตัว  ศาสนาล่วงได้ ๒๑๓๓ ปีข้าว พระญาเจ้านเรศขึ้นนั่งเวยงใตสรโยธิ
                                                                                               ี
                                                                                                      ี
                                                                                                   ้
                 ยา มีใบท้องตราบอกตั้งเจ้าหนานสองเรือน บุตรเจ้าหมื่นฅำกองแลนางเวียงแก้วช่อเทว ขึ้นกินเวยงลับ
                                                                                                    ี
                                                                                            ี
                 แลงไจย แลยกเวียงขึ้นแก่พญาพิไชย  ปีนั้นเจ้าสองเรือนได้ทะรงเถิงยังองค์สังฆาธุเจ้า แลตั้งราชวัตรฉตร
                                                                                                       ั
                 ตุง ส่งสืบชะตาเวียงตามแนวไจยมังคลาสถาน ตามรีดเดิมออนก่อนหนเจ้าพระญาตนเกล๊าเจ้าติโลกะ
                 ราชาฟ้าฮ่าม แลตั้งข่วงพิธีไหว้สาแต่งขันน้ำขะมิ้น ส้มป่อย ดอกสาระปี ใบแหน่ง ข้าวของโภชนังมังสา

                                                                                                      ั่
                                                                                                   ็
                 ออกสระสรงยังโฮงหอเจ้าตนอารักษ์หลักเวียง แลแป๋งผามโฮงฅำเจ้าติโลกะราชาฟ้าฮ่าม / ก็สมเรดดงใจ
                 หมาย ก็มีในวันเดือน ๖ เหนือ เป็น ๑๓ ค่ำ  นับวันเจ้าพระญาตนเกล๊าเข้าเวียง นั้น  ชะแล


                                             ์
                       เป็นการกล่าวถึงเหตุการณใน พ.ศ. ๒๑๓๓ ตรงกับพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐฯ
               บอกว่า “ศักราช ๙๕๒ ขาลศก วันอาทิตย์ แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๘ สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงพระพฤฒาราช
               นฤพาน” คือสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช สวรรคตในวันอาทิตย์ที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๑๓๓ หลังจากนั้น

                                  ึ
               สมเด็จพระนเรศวรฯ จงได้ขึ้นครองราชย์สืบต่อ   ตรงกันกับตำนานพระเจ้ายอดคำทิพย์ ซึ่งสมเด็จพระนเรศวร
                                                      63
               ฯ ได้มีใบบอกมายังเจ้าหนานสองเรีอน (ในฉบับที่ ๑) / เรืยน (ในฉบับที่ ๒) บุตรเจ้าหมื่นคำกอง (อดีตเจาเมือง
                                                                                                    ้
                                                                                                 ั
               ลับแลงไชย) กับนางแก้วช่อเทวี (ในฉบับที่ ๑) / นางเวียงแก้วช่อเทวี (ในฉบับที่ ๒) ให้เป็นเจ้าเมืองลบแลงไชย
               ยกเวียงลับแลงไชยขึ้นกับเมืองพิไชย (พิชัย) ซึ่งเป็นหัวเมืองชั้นตรีในลุ่มแม่น้ำน่าน จากนั้นเจ้าหนานสองเรือนได ้

                                                                                             ั้
                                                       ิ
                                                             ่
               ทำพิธีสืบชะตาเมืองลับแลงไชยตามขนบจารีตเดมตั้งแตครั้งพระญาติโลกราชาฟ้าฮ่าม แล้ว “ตงข่วงพิธีไหว้สา
                                                                                                        ั
               แต่งขันน้ำขะมิ้น ส้มป่อย ดอกสาระปี ใบแหน่ง ข้าวของโภชนังมังสา ออกสระสรงยังโฮงหอเจ้าตนอารักษ์หลก
               เวียง” คือการตั้งลานพิธี แล้วแต่งขันน้ำด้วยขมิ้น ส้มป่อย ดอกสารภี ใบแหน่ง และข้าวของโภชนาอาหารมา
                                                                                                       ี่
                                                             ิ
               สมโภชที่ “โฮง” อารักษ์หลักเวียง แล้วสร้างโฮงคำเจ้าตโลกราชฟ้าฮ่าม ในฉบับที่ ๑ เพิ่มข้อความจากฉบับท ๒
               มาคือ “ออกข่วงสมโภชไคว่ครบ ๓ วัน ชาวฟ้อน  ชาวเหล้น ชาวยิงชาวปี ม่วนงันค่ำเช้าชุมื้อ” อันเป็นมหรสพ

                                    ื
                                                                                                  ้
               ที่บรรยายในงานสมโภชสบชะตาเมือง ก็สำเร็จโดยถือเอา “วันเดือน ๖ เหนือ เป็น ๑๓ ค่ำ  นับวันเจาพระญา
               ตนเกล๊าเข้าเวียง” จึงถือว่าการสืบชะตาเมืองในครั้งนี้สอดคล้องกับประเพณแห่น้ำขึ้นโฮง สรงน้ำเจ้าฟ้าฮ่ามกุ
                                                                              ี
               มาร โดยที่ในปัจจบันไดยึดถือเอาวันขึ้น ๑๓ ค่ำ เดือน ๖ ตามปฏิทินจันทรคตของไทยใต้ โดยสาระสำคญของ
                                                                                                    ั
                                   ้
                                                                               ิ
                              ุ
               ประเพณีคือการเลี้ยงผีหลวงหรืออารักษ์เมืองที่คอยดูแลเมืองลับแลงไชย เพื่อขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์อำนวยให้ฝนตก



                       63  ตรงใจ  หุตางกูร, ๒๕๖๑, หน้า ๑๖๑.

                                             การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
                                                        หน้า ๑๑๓
   258   259   260   261   262   263   264   265   266   267   268